ระบบการรักษาพยาบาลฉุกเฉิน ECS (Emergency Care System) หมายถึง ระบบการบริหารจัดการเพื่อให้ผู้เจ็บป่วย ฉุกเฉินได้รับการดูแลรักษาที่มีคุณภาพ
ECS (Emergency Care System) การป้องกันก่อนเกิด (prevention), การดูแล ณ จุดเกิดเหตุ (pre hospital care), ต่อเนื่องถึง การดูแล ณ ห้องฉุกเฉิน (ER ), การดูแล รักษาใน โรงพยาบาล (In hospital care) / การดูแลเฉพาะ ทาง (Definitive care), การส่งต่อ (Inter hospital care/ Referral System) การจัดระบบบริบาลกรณีเกิดอุบัติเหตุหมู่ (Mass Casualties Incident) การเตรียมแผนรองรับภัยพิบัติ ของสถานพยาบาล / โรงพยาบาล (Disaster preparedness & Hospital preparedness for Emergency)
การพัฒนาห้องฉุกเฉิน ให้ได้คุณภาพ เป็นหนึ่งในนโยบายของการพัฒนาระบบบริการสุขภาพเพื่อ รองรับผู้ป่วยอุบัติเหตุ และ ผู้ป่วยฉุกเฉิน ระยะ แรก เมื่อ พ.ศ. 2555 -2557 โรงพยาบาลแต่ละระดับ ทำการประเมินตนเอง (Self-Assessment) เพื่อทราบถึง จุดเด่น และ จุด อ่อน ที่ต้องการปรับปรุง โดย ยึด ตาม แนวทางสู่มาตรฐานของการพัฒนาห้องฉุกเฉิน ของกรมการ แพทย์ ซึ่งมี 12ประเด็น
The Process Prevention Out-of-Hospital In-Hospital Triage Detection Diagnosis Treatment Disposition Primary Prevention Secondary Prevention Tertiary Prevention Detection Report Response On Scene Care Care on Transit Delivery to Definitive Care
ผลที่ผู้ใช้บริการควรได้รับ การลดอัตราตาย (Death) การลดความรุนแรงของโรค (Disease) การลดอัตราพิการ (Disability) การลดความทุกข์ทรมาน (Discomfort) การลดความไม่พึงพอใจ (Dissatisfaction) การลดค่าใช้จ่าย (Destitution)
ตัวชี้วัดในปี 2559 นี้ จะ เน้นใน 3 ส่วน คือ มิติที่ 1 มิติการบริหาร และนโยบาย หมายถึงการประเมิน ผู้อำนวยการ และทีมบริหาร เกี่ยวกับนโยบาย การสนับสนุนการพัฒนาระบบ รักษาพยาบาลฉุกเฉิน มิติที่ 2 มิติผู้ให้บริการ จะเน้น ในประเด็น ความพร้อมของทรัพยากร ได้แก่ อาคารสถานที่ บุคลากร ระบบการให้คำปรึกษา ระบบการดูแลผู้ป่วย อุบัติเหตุและฉุกเฉินในโรงพยาบาล การวิเคราะห์ข้อมูล มิติที่ 3 มิติด้านผู้รับบริการ คือ เน้นในด้าน ผลลัพธ์จากการเข้ารับบริการ รักษาพยาบาล (อ้างอิงนิยาม จากแนวทางการพัฒนาสู่มาตรฐานของห้องฉุกเฉิน จัดทำโดย กรมการแพทย์ โดยความร่วมมือจาก สมาคมเวชศาสตร์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย และ สถาบันพัฒนาคุณภาพ)
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย เกณฑ์เป้าหมาย โรงพยาบาลประเมินตนเอง ใช้วิธีเปรียบเทียบข้อมูล ของตนเองในเขตสุขภาพ จากปี 2558 เทียบกับ ปี 2559 กลไกการตรวจนิเทศราชการปกติ และ/หรือ จากทีม ผู้เชี่ยวชาญ ประชากรกลุ่มเป้าหมาย โรงพยาบาล ระดับ A,S,M,
ขั้นตอนการดำเนินงาน: ขั้นตอน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาและจัดบริการ ระบบการ รักษาพยาบาล ฉุกเฉิน ในโรงพยาบาล ขั้นตอน 2. จัดทำคู่มือและแนวทางการประเมินตนเอง ในด้าน ER คุณภาพในรูปแบบเครือข่ายทั้งจังหวัด ขั้นตอน 3. จัดทำคู่มือและแนวทางการ ประเมินตนเอง ในด้าน ER คุณภาพ ในระดับเขตสุขภาพ ขั้นตอน 4. มีการประเมินตนเอง ตาม มิติต่างๆ และทราบถึงจุดแข็ง และ จุดด้อย ของระบบรักษาพยาบาลฉุกเฉินโรงพยาบาล เพื่อเป็นข้อมูล พื้นฐานในการพัฒนาสู่ คุณภาพ ด้านการรักษาพยาบาลฉุกเฉินต่อไป