วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาปัจจัยประชากรศาสตร์ที่มีผลต่อ การรับรู้ผู้บริโภคในกรุงเทพมหานครที่มีต่อ น้ำส้มสายชูที่หมักจากสับปะรด เพื่อศึกษาความใส่ใจสุขภาพของผู้บริโภค.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้เสนอ นางประภัสสร แก้วประสาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
Advertisements

System Requirement Collection (2)
การประเมินรายงาน การวิจัย (An Evaluation of Research Report) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์พีระ ครึกครื้น จิตร ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.
การสรรหาและคัดเลือกบุคลากร บริษัท ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน จำกัด (มหาชน)
โครงการทดลองวิชา ของนักศึกษา ปริญญาโท
การเขียนโครงร่างวิจัย
อ. สิริพร มีนะนันทน์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของผู้สำเร็จการศึกษา สาขาวิชาพณิชยการและ การจัดการธุรกิจท่องเที่ยว ระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.) ตามความต้องการของ สถานประกอบการ.
บทที่ 3 หลักฐานการสอบบัญชีและการตรวจสอบ
โดย...นางสาวปราณี พลดาหาญ บธ 5501
แบบสอบถาม (Questionnaire)
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ลิ้มปองทรัพย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ เลขที่ 2 ถนนมหาราช แขวง พระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณลักษณะ.
ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานประกอบการต่อการฝึกงานของนักศึกษา ระดับปวส
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
ความรู้พื้นฐานทางสถิติ
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
เทคนิคการตรวจสอบภายใน
การวัด Measurement.
ผู้วิจัย สิริภิญญ์ อินทรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ ปีการศึกษา 2556
ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
รศ. ดร. สิทธิชัย แก้วเกื้อกูล คณบดี รศ. สุวรรณา สมบุญสุโข รองคณบดีฝ่ายบริหาร ผศ. ดร. คมกฤตย์ ชมสุวรรณ รองคณบดีฝ่ายวางแผน และพัฒนา รศ. ดร. กุลธิดา ธรรมวิภัชน์
เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตและปัจจัยที่มีผลต่อ คุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ที่ รับยาต้านไวรัสเอชไอวีในโรงพยาบาลวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี
จัดทำโดย นางสาว อุศนันท์หาดรื่น ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ปีการศึกษา 2557.
ความพึงพอใจต่อการบริหาร จัดการโครงการเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริงด้วยวิธีการ เรียนรู้แบบศึกษาดูงาน บริหารธุรกิจสาขาการจัดการ / การตลาด ภาคเรียนที่ 2/2556.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
รูปแบบการเขียนบทที่ 3.
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
แผนกการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อพัฒนา การเรียนการสอน
วิทยาลัยเทคโนโลยี ดอนบอสโกสุราษฎร์
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
      วิจัย เรื่อง การประเมินผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ของสำนักงานประกันคุณภาพและงานวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ปีการศึกษา 2556.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงาน
นำเสนอผลงานวิชาการ เรื่อง การพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบ สำหรับนักเรียน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่
กลุ่มเกษตรกร.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
รูปแบบ และ ประโยชน์การขายสินค้าออนไลน์
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
วิชา พฤติกรรมผู้บริโภค
มาฝึกสมองกันครับ.
การนำเสนอผลงานการวิจัย
หลัก MAX MIN CON การออกแบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
02/08/62 การศึกษาพลังงานทางเลือกจากมูลช้างทำถ่านอัดแท่ง สู่ชุมชนท้องถิ่นในเขตจังหวัดสุรินทร์ The Study of Alternative Fuel From Elephant Dung Made Bar.
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
ตอนที่ 4.3 กรณีศึกษา : การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตร สำนักงานอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ตอนที่ กรณีศึกษา : การจัดการความรู้
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
คู่มือการใช้เครื่องชี้วัดสำหรับ การประเมินผลการปฏิบัติตามมาตรฐาน ทางคุณธรรมและจริยธรรม ส่วนมาตรฐานการบริหารงานบุคคล สำนักงาน ก.ถ. สป.
โดย นายธนารัฐ สายเทพ กลุ่มงานวางแผนฯ กองการเจ้าหน้าที่ นอ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาปัจจัยประชากรศาสตร์ที่มีผลต่อ การรับรู้ผู้บริโภคในกรุงเทพมหานครที่มีต่อ น้ำส้มสายชูที่หมักจากสับปะรด เพื่อศึกษาความใส่ใจสุขภาพของผู้บริโภค ที่มีความสัมพันธ์ต่อการรับรู้ที่มีต่อ น้ำส้มสายชูที่หมักจากสับปะรด

ขอบเขตการศึกษาวิจัย กลุ่มตัวอย่างคือกลุ่มบุคลที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปีมีรายได้ โดยเฉลี่ย 30,000 บาท ขึ้นไป ในกรุงเทพมหานคร ตัวแปรอิสระ 1. คือปัจจัยประชากรศาสตร์ เพศ, อายุ, สถานภาพสมรส, ระดับการศึกษา, อาชีพ, รายได้ 2. ความใส่ใจสุขภาพ การติดตามข่าวสารด้าน สุขภาพการบริโภคอาหารที่ดีต่อสุขภาพการปฏิบัติ เพื่อสุขภาพที่ดี ตัวแปรตาม ทัศคติที่มีต่อน้ำส้มสายชูที่หมักจาก สับปะรด ด้านการเป็น ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพด้าน ประโยชน์

กรอบความคิดในการวิจัย

สมมติฐานการวิจัย H:1 ปัจจัยประชากรศาสตร์มีผลต่อการ ทัศนคติของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานครที่ มีต่อน้ำส้มสายชูที่หมักจากสับปะรด H:2 ความใส่ใจสุขภาพของผู้บริโภคมี ความสัมพันธ์กับการทัศนคติที่มีต่อ น้ำส้มสายชูที่หมักจากสับปะรด

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ เพื่อทำให้ประชากรในเขตกรุงเทพ ได้รับรู้ว่า มี น้ำส้มสายชูเพื่อสุขภาพที่หมักจากสับปะรด, น้ำส้มสายชูพร้อมดื่มเพื่อสุขภาพที่ไร้ สารพิษ และได้เพิ่มยอดขายของ บริษัท ไทยรสทิพย์ จำกัด

ประเภทของการวิจัยและ แหล่งของข้อมูล “ ทัศนคติที่มีต่อน้ำสมสายชูหมักจาก สับปะรดของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร ” เป็นการวิจัยเชิงพรรณา (Descriptive Research) โดยใช้ระเบียบวิธีเชิงปริมาณ (Quantitative Approach )

ประชากรและขนาดของกลุ่ม ตัวอย่าง ประชากรที่มีอายุ 35 ปี ขึ้นไป ซึ่งมีจำนวน 3,056,169 ในเขตกรุงเทพมหานคร ณ สิ้น ปี 2557 ด้านจำนวนกลุ่มตัวอย่างใน การศึกษาครั้งนี้ กำหนดขนาดโดยคำนวณ จากสูตร ( ข้อมูลจาก กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ณ เดือนธันวาคม 2556)

วิธีการสุ่มตัวอย่าง การวิจัยครั้งนี้เก็บข้อมูลจากผู้บริโภคในจังหวัด กรุงเทพมหานครใช้วิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage Sampling) โดยแบ่งพื้นที่การเก็บ ข้อมูล สำหรับกรุงเทพมหานครแบ่งเป็น 50 เขตโดยใช้การแบ่งเขตตามการแบ่งของสำนัก ปลัดกรุงเทพมหานคร เขตลาดพร้าว เขตพญา ไท เขตปทุมวัน เขตราชเทวี เขตบางกะปิ เขตห้วย ขวาง เขตวัฒนา เขตคลองเตย เขตดินแดง เขตราชเทวี

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ข้อมูลส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง (Personal Characteristics) ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพสมรส การศึกษาสูงสุดที่สำเร็จการศึกษา อาชีพ รายได้ และรายละเอียดกรมธรรม์ที่มีอยู่ 2. ความใส่ใจสุขภาพ การติดตามข่าวสาร ด้านสุขภาพ 3. การบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ 4. ทัศนคติที่มีต่อการรับรู้ที่มีต่อน้ำส้มสายชู ที่หมักจากสับปรดด้านการเป็นผลิตภัณฑ์ เพื่อสุขภาพด้านประโยชน์

มาตรวัดที่ใช้ ส่วนที่ 1 เป็นการสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ตอบ แบบสอบถาม เพื่อวัดตัวแปรเกี่ยวกับคุณลักษณะของ ผู้บริโภค มีข้อคำถามปลายปิด (Close-ended Question) ส่วนที่ 2, 3, 4, ความใส่ใจสุขภาพ การติดตามข่าวสาร ด้านสุขภาพ การบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพทัศนคติที่มี ต่อการรับรู้ที่มีต่อน้ำส้มสายชูที่หมักจากสับปรดด้านการ เป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพด้านประโยชน์ มีข้อคำถาม ปลายปิด (Close-ended Question) โดยทั้งหมดใช้ มาตรวัดอัตรภาค (Interval Scale) โดยให้ผู้ตอบ ประเมินค่า (Rating) ตามแบบวิธีของลิเคิร์ท (Likert) 5 ระดับ

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิจัยนี้มีการรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิจากเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี รายงานและ งานวิจัยที่เกี่ยวข้องและเก็บรวบรวม ข้อมูลปฐมภูมิโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ โดยมี ขั้นตอน ดังนี้ (1) ศึกษาเอกสาร แนวคิดทฤษฎี รายงานและงานวิจัยที่ เกี่ยวข้อง (2) นำผลการศึกษาข้อ 1 มาออกแบบเครื่องมือวัด (3) ขอคำปรึกษาจากอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อตรวจแก้ไข เครื่องมือให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจัย (4) ทดสอบการใช้เครื่องมือ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่ม ตัวอย่างจริงจำนวน 30 ตัวอย่างเพื่อประเมินคุณภาพด้าน ความตรงและประมวลผลค่าสัมประสิทธ์ความเชื่อมั่นเพื่อ ประเมินความเที่ยง (5) นำแบบสอบถามไปเก็บข้อมูลจริงกับกลุ่มตัวอย่าง ตลอดจนเนื้อหา ภาษา ให้ถูกต้องเหมาะสม

การประมวลผลและการ วิเคราะห์ข้อมูล (1) สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistic) (2) การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation of Coefficient) (3) การวิเคราะห์การถดถอย (Regression Analysis)

ระยะเวลาในการวิจัย โครงการวิจัย “ ทัศนคติที่มีต่อน้ำสม สายชูหมักจากสับปะรดของผู้บริโภค ในกรุงเทพมหานคร ” มีระยะเวลาดำเนินการวิจัยตั้งแต่ เดือน มกราคม – เดือนพฤษภาคม 2558

งบประมาณ (1) ค่าถ่ายสำเนาเอกสารค้นคว้า 600 บาท (2) ค่าพาหนะเดินทางเก็บข้อมูล 4,000 บาท (3) ค่าพาหนะเดินทางมานำเสนองาน 500 บาท (4) ค่าเข้าเล่มรายงานพร้อมปก 100 บาท (5) ค่าโทรศัพท์ติดต่อในงานการทำวิจัย 500 บาท รวม 5,800 บาท