ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Land & Houses Public Company Limited
Advertisements

การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
สรุปประเด็นสำคัญเรื่องเล่า
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
หลักและทฤษฏีกฎหมายมหาชน
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
บทที่5 การควบคุมการผลิตและต้นทุนการผลิต
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
บทที่ 6 การจัดการองค์การ.
บทที่ 1 ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับระบบคุณภาพ
Software Development and Management
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
. แผ น กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4 กลุ่ม 5 รวม 1. สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรได้รับ การส่งเสริม สนับสนุนการ ดำเนินงาน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
ที่มา : ศ. ดร. ชาญ ณรงค์ พรรุ่งโรจน์. 6 จุดเริ่มต้น ของการประกัน คุณภาพ การประกันคุณภาพ เริ่มต้นที่ความ พยายามของ ผู้บริหาร ครู และ ผู้เข้ารับการอบรม.
เสียงสะท้อนจากพื้นที่การ ดำเนินงานตามนโยบายกรม สุขภาพจิต : การพัฒนางาน ด้านวิกฤตสุขภาพจิต โดย ดร. นพ. พิทักษ์พล บุณยมาลิก ผู้อำนวยการสถาบันกัลยาณ์ราช นครินทร์
ฝ่ายนโยบาย แผน และประกันคุณภาพการศึกษา งานนโยบาย แผน งานข้อมูล สารสนเทศ งานมาตรฐาน การศึกษาและ งานประกัน คุณภาพ การศึกษา งานนิเทศ กำกับ ติดตามและ ประเมินผล.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
ชุมชนปลอดภัย.
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ระบบบัญชาการในสถานการณ์ Incident Command System: ICS
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
      วิจัย เรื่อง การประเมินผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ของสำนักงานประกันคุณภาพและงานวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ปีการศึกษา 2556.
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
Continuous Quality Improvement
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
สำนักวิชาสหเวชศาสตร์และสาธารณสุขศาสตร์
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
โดย หัวหน้างานบริหารทั่วไป
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ

1.1 รู้วิวัฒนาการด้านการบริหาร คุณภาพ 1.1 รู้วิวัฒนาการด้านการบริหาร คุณภาพ จุดประสงค์รายวิชาจุดประสงค์รายวิชา บอกวิวัฒนาการด้านการ บริหาร คุณภาพได้ บอกวิวัฒนาการด้านการ บริหาร คุณภาพได้ บอกแนวคิดการสร้างคุณภาพ สมัยเดิมกับสมัยใหม่ได้ บอกแนวคิดการสร้างคุณภาพ สมัยเดิมกับสมัยใหม่ได้ 1.2 เข้าใจหลักการของ วงจรเดมมิ่ง 1.2 เข้าใจหลักการของ วงจรเดมมิ่ง อธิบายความหมายของวงจร เดมมิ่งได้ อธิบายความหมายของวงจร เดมมิ่งได้ อธิบายประโยชน์ของวงจร เดมมิ่งได้ อธิบายประโยชน์ของวงจร เดมมิ่งได้

1.1.1 วิวัฒนาการด้านการบริหาร คุณภาพ วิวัฒนาการด้านการบริหาร คุณภาพ การบริหารคุณภาพเริ่มขึ้นหลัง สงครามโลกครั้งที่ 2 การบริหารคุณภาพเริ่มขึ้นหลัง สงครามโลกครั้งที่ 2 โดยกระทรวงกลาโหมของ สหรัฐอเมริกา โดยกระทรวงกลาโหมของ สหรัฐอเมริกา หลังจากญี่ปุ่นแพ้สงครามโลกครั้งที่ 2 ได้นำระบบบริหารคุณภาพมาใช้ใน อุตสาหกรรมจนประสบความสำเร็จ สำหรับประเทศไทย นำระบบบริหาร คุณภาพเข้ามาใช้ในปี 2518 โดย บริษัท บริดสโตน และบริษัทฮีโน อุตสาหกรรม

1.1.2 แนวคิดการสร้างคุณภาพ สมัยเดิมกับสมัยใหม่ แนวคิดการสร้างคุณภาพ สมัยเดิมกับสมัยใหม่ แบบดั้งเดิมแบบสมัยใหม่ 1. เป็นภารกิจของฝ่ายผลิต / โรงงานแก้ปัญหาเอง 2. มีสายงานช่วยฝ่ายผลิต ตรวจสอบคุณภาพ / วิเคราะห์ / ปรับปรุง 3. ตรวจสอบหาของเสีย ทำตาม เกณฑ์ที่ยอมรับได้ 4. ควบคุมคุณภาพโดยการ ตรวจสอบ 5. เน้นคุณภาพจนทำให้ต้นทุน สูง 6. ควบคุมคุณภาพทำให้การ ผลิตล่าช้า 7. เป้าหมายคุณภาพ คือ ระดับ ของเสียที่ยอมรับได้ 8. เน้นลดต้นทุนมากกว่า ปรับปรุงคุณภาพ 9. มักจะขัดแย้งกันระหว่างฝ่าย ผลิตและฝ่ายคุณภาพ 10. ผู้รับผิดชอบคุณภาพมี จำนวนน้อย 1. เป็นภารกิจของทุกฝ่าย ร่วมกันแก้ปัญหา 2. ทุกสายงานตรวจสอบ คุณภาพ / วิเคราะห์ / ปรับปรุง 3. ปรับปรุงวิธีการทำงานเพื่อให้ คุณภาพดีขึ้น 4. สร้างคุณภาพในจิตสำนึก ไม่ใช่ควบคุม 5. ปรับปรุงคุณภาพทำให้ต้นทุน การผลิตต่ำลง 6. คุณภาพกับการผลิตถือ ปฏิบัติควบคู่กันไปทำให้การผลิต ไม่ล่าช้า 7. เป้าหมายของเสียเป็นศูนย์ 8. เน้นปรับปรุงคุณภาพช่วยลด ต้นทุนได้ 9. สามัคคีกันในกิจการกลุ่ม 10. ผู้รับผิดชอบคุณภาพมีทั่ว ทั้งองค์กร

1.2.1 ความหมายของวงจรเดมมิ่ง ความหมายของวงจรเดมมิ่ง 1. วงจรเดมมิ่ง (Deming Cycle) หมายถึง 1. วงจรเดมมิ่ง (Deming Cycle) หมายถึง กระบวนการทำงานอย่าง ต่อเนื่องด้วยเหตุผล และมี ประสิทธิภาพเพื่อให้งาน บรรลุเป้าหมาย ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน หลักคือ การวางแผน การ ดำเนินการ การตรวจสอบ การแก้ไขปรับปรุง

1.2.1 ความหมายของวงจรเดมมิ่ง ความหมายของวงจรเดมมิ่ง 2. วงจรเดมมิ่ง (Deming Cycle) ประกอบด้วย 2. วงจรเดมมิ่ง (Deming Cycle) ประกอบด้วย P = Plan คือ การวางแผนงานจากวัตถุประสงค์ และเป้าหมายที่ได้กำหนดขึ้น D = Do คือ การปฏิบัติตามขั้นตอนในแผนงาน ที่ได้เขียนไว้อย่างเป็นระบบ C = Check คือ การตรวจสอบผลการ ดำเนินงานในแต่ละขั้นตอน A = Action คือ การปรับปรุงแก้ไขส่วนที่มี ปัญหา

1.2.2 ประโยชน์ที่ได้รับจากวงจร เดมมิ่ง ( Demimg Cycle ) ประโยชน์ที่ได้รับจากวงจร เดมมิ่ง ( Demimg Cycle ) 1. ทำให้มีการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ ตั้งแต่ขั้นการศึกษางาน ขั้นเตรียมงาน ขั้นดำเนินงาน ขั้นการประเมินผล 2. ทำให้ทราบขั้นตอน วิธีการ และละ สามารถเตรียมงานล่วงหน้าได้ 3. การปฏิบัติงานเกิดความราบรื่น และเรียบร้อย นำไปสู่เป่าหมายที่ได้กำหนดไว้ 4. การตรวจสอบให้ผลที่เที่ยงตรงเชื่อถือได้ เช่น ตรวจสอบจากเป้าหมายที่กำหนดไว้ มี เครื่องมือที่เชื่อได้ มีเกณฑ์ในการตรวจสอบที่ ชัดเจน 5. มีการปรับปรุงแก้ไข ข้อบกพร่องที่ เกิดขึ้น