คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหาร จัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
Advertisements

นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
กระบี่ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด หน่วยบริการในพื้นที่มีต้นทุนต่อหน่วยไม่เกิน.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่
แนวทางการปรับแผนโครงการ และแผนงบประมาณ ภายในหน่วยงาน ปี 2558
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบ บริหารจัดการ ประเด็น การพัฒนาบุคลากร ประเด็น ตรวจราชการ ขั้นต อน ที่ 1 ขั้นต อน ที่ 2 ขั้นต อน ที่ 3 ขั้นต อน ที่ 4 ขั้นต อน ที่
มีระบบหลักประกันสุขภาพที่ประชาชน เข้าถึงด้วยความมั่นใจ.
บสนุนการจัดบริการ การจัดบริการ สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 2 ปีงบประมาณ 2558 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 2 ปีงบประมาณ 2558 คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
การปฐมนิเทศ ข้าราชการใหม่ “ หลักสูตรการเป็น ข้าราชการที่ดี ” เขตสุขภาพที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ CHRO ณ 26 พค
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1 ปี 2558 คณะที่ 3 พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน การจัดบริการ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558 วันที่ 20 กุมภาพันธ์
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภก.กิตติศักดิ์ ไท้ทอง
การบริหารจัดการงบค่าเสื่อม ปี 2561
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
พัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการ
บทสรุปผู้บริหาร การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม.
โครงการอบรม เรื่องการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล โรงพยาบาลสัตหีบ กม.10 ปีงบประมาณ 2560 วันที่ 23 พฤษภาคม 2560.
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
รองผู้อำนวยการสำนักบริหารการสาธารณสุข
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
FAI60 อมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ.
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
หน่วยงานหลัก: สสจ./รพ./สสอ./รพสต. หน่วยงานร่วม:
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร & งานข้อมูลข่าวสาร
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
แผนพัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัย และเวชกรรมสิ่งแวดล้อม
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 25 รพ.สต.ผ่านเกณฑ์พัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 จังหวัดตราด
แนวทางการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปี 2562
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงานสำเร็จบรรลุเป้าหมาย
หน่วยงานที่มีการจัดทำแผนและดำเนินการตามแผน
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
การบริหารเวชภัณฑ์ของโรงพยาบาล
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 จังหวัดบุรีรัมย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหาร จัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการ

มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการ บริหารเวชภัณฑ์ พัฒนาประสิทธิภาพระบบการ บริหารเวชภัณฑ์ การควบคุมการใช้ ( สมเหตุสมผล ประหยัดค่าใช้จ่าย ) วัตถุประสงค์ ลดต้นทุน / มีการใช้เหมาะสมในหน่วย บริการแต่ละระดับ

การบริหารจัดการด้านยาและ เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง สิ่งดีๆ ที่มี อยู่ มีคณะกรรมการบริหารเวชภัณฑ์ฯ ในการ ขับเคลื่อนงาน เป็นรูปธรรมอย่างชัดเจน ( แยกรายกลุ่ม ) มีการกำกับ ติดตาม ผลการดำเนินงานตาม ตัวชี้วัดบริหารเวชภัณฑ์ รพ. ทุกแห่ง จัดทำประกาศเกณฑ์จริยธรรม ว่าด้วยการส่งเสริมการขายยาและเวชภัณฑ์ ที่มิใช่ รวมทั้งติดตามการดำเนินงานตาม ประกาศฯ

เป้าหมาย :  ร้อยละ 20 ร้อยละการซื้อร่วมแยกตามประเภทวัสดุ PACS

กลุ่มวัสดุ มูลค่าแผน จัดซื้อ (A) มูลค่าการ จัดซื้อ ในไตรมาส (B) ร้อยละของ มูลค่า การจัดซื้อไตร มาส 1 – 3 เมื่อ เทียบกับแผน (B/A) X ๑๐๐ ยา 202,033, ,263, วัสดุการแพทย์ 54,514, ,049, วัสดุทันตกรรม 12,103, ,381, วัสดุเอกซเรย์ 4,262, , วัสดุ วิทยาศาสตร์ 63,209, ,100, ภาพรวมจังหวัด 336,122, ,170, แผนจัดซื้อ เป็นไปตามแผน

ผลการดำเนินงานอื่นๆ ที่ น่าสนใจ  ทุกโรงพยาบาลมีระบบการกำกับประเมินการ ใช้ยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา (Utilization Evaluation) โดยมีการกำหนดรายการยาและ เกณฑ์ประเมินการใช้ยา (DUE) โดยมีการจัดทำ เกณฑ์ประเมินการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลให้ แพทย์ก่อนสั่งใช้ยา และมีการกำกับติดตาม โดยคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัด พิจารณาของโรงพยาบาล  การดำเนินงาน Antibiotics Smart Use ประสบ ความสำเร็จอย่างดียิ่งคือมีการสั่งใช้ยาปฎิชีว นะใน URI, Acute Diarrhea ไม่เกินร้อยละ 10 ( เกณฑ์สป. สช. ไม่เกินร้อยละ 20)  มีการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการอย่าง สมเหตุสมผล การสั่งใช้อย่างสม เหตสมผล

ข้อเสนอแนะ ระดับ จังหวัด ควรเพิ่มการจัดซื้อ โดยวิธีสอบราคา / ประกวดราคา /e-bidding ให้ครอบคลุม หมวดวัสดุการแพทย์ วัสดุทันตกรรม และวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ ควรเพิ่มการจัดซื้อร่วมในระดับจังหวัด และระดับเขตในครอบคลุมรายการให้ มากขึ้น โดยเฉพาะหมวดวัสดุการแพทย์ และหมวดวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์

ข้อเสนอแนะ ระดับ จังหวัด ให้ผู้บริหารหน่วยงาน / จังหวัด ติดตามกำกับให้มี การรายงาน ทางเวปไซต์ กระทรวงสาธารณสุข ให้ ครบถ้วนเป็นปัจจุบัน รวมทั้ง การติดตาม กำกับการ ดำเนินงานตามกลยุทธ์ smart use

ข้อเสนอแนะ ระดับกระทรวง ขอให้กระทรวงปรับปรุงระบบรายงานข้อมูล บริหารเวชภัณฑ์ ทาง Online (DMSIC) แยก ตามกลุ่มเวชภัณฑ์ ( ยา / วัสดุการแพทย์ / วัสดุ วิทย์ฯ / วัสดุทันตฯ / วัสดุ X-ray… จ้างและซื้อ ) แผนการจัดซื้อ รายงาน ASU และกำหนดให้ หน่วยงานทุกระดับ ( กระทรวง / เขต / จังหวัด ) ใช้ในการติดตาม / กำกับ ให้เป็นในแนวทาง เดียวและเวปไซด์เดียวกัน

สวัส ดี 11