คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหาร จัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการ
มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการ บริหารเวชภัณฑ์ พัฒนาประสิทธิภาพระบบการ บริหารเวชภัณฑ์ การควบคุมการใช้ ( สมเหตุสมผล ประหยัดค่าใช้จ่าย ) วัตถุประสงค์ ลดต้นทุน / มีการใช้เหมาะสมในหน่วย บริการแต่ละระดับ
การบริหารจัดการด้านยาและ เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง สิ่งดีๆ ที่มี อยู่ มีคณะกรรมการบริหารเวชภัณฑ์ฯ ในการ ขับเคลื่อนงาน เป็นรูปธรรมอย่างชัดเจน ( แยกรายกลุ่ม ) มีการกำกับ ติดตาม ผลการดำเนินงานตาม ตัวชี้วัดบริหารเวชภัณฑ์ รพ. ทุกแห่ง จัดทำประกาศเกณฑ์จริยธรรม ว่าด้วยการส่งเสริมการขายยาและเวชภัณฑ์ ที่มิใช่ รวมทั้งติดตามการดำเนินงานตาม ประกาศฯ
เป้าหมาย : ร้อยละ 20 ร้อยละการซื้อร่วมแยกตามประเภทวัสดุ PACS
กลุ่มวัสดุ มูลค่าแผน จัดซื้อ (A) มูลค่าการ จัดซื้อ ในไตรมาส (B) ร้อยละของ มูลค่า การจัดซื้อไตร มาส 1 – 3 เมื่อ เทียบกับแผน (B/A) X ๑๐๐ ยา 202,033, ,263, วัสดุการแพทย์ 54,514, ,049, วัสดุทันตกรรม 12,103, ,381, วัสดุเอกซเรย์ 4,262, , วัสดุ วิทยาศาสตร์ 63,209, ,100, ภาพรวมจังหวัด 336,122, ,170, แผนจัดซื้อ เป็นไปตามแผน
ผลการดำเนินงานอื่นๆ ที่ น่าสนใจ ทุกโรงพยาบาลมีระบบการกำกับประเมินการ ใช้ยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา (Utilization Evaluation) โดยมีการกำหนดรายการยาและ เกณฑ์ประเมินการใช้ยา (DUE) โดยมีการจัดทำ เกณฑ์ประเมินการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลให้ แพทย์ก่อนสั่งใช้ยา และมีการกำกับติดตาม โดยคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัด พิจารณาของโรงพยาบาล การดำเนินงาน Antibiotics Smart Use ประสบ ความสำเร็จอย่างดียิ่งคือมีการสั่งใช้ยาปฎิชีว นะใน URI, Acute Diarrhea ไม่เกินร้อยละ 10 ( เกณฑ์สป. สช. ไม่เกินร้อยละ 20) มีการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการอย่าง สมเหตุสมผล การสั่งใช้อย่างสม เหตสมผล
ข้อเสนอแนะ ระดับ จังหวัด ควรเพิ่มการจัดซื้อ โดยวิธีสอบราคา / ประกวดราคา /e-bidding ให้ครอบคลุม หมวดวัสดุการแพทย์ วัสดุทันตกรรม และวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ ควรเพิ่มการจัดซื้อร่วมในระดับจังหวัด และระดับเขตในครอบคลุมรายการให้ มากขึ้น โดยเฉพาะหมวดวัสดุการแพทย์ และหมวดวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์
ข้อเสนอแนะ ระดับ จังหวัด ให้ผู้บริหารหน่วยงาน / จังหวัด ติดตามกำกับให้มี การรายงาน ทางเวปไซต์ กระทรวงสาธารณสุข ให้ ครบถ้วนเป็นปัจจุบัน รวมทั้ง การติดตาม กำกับการ ดำเนินงานตามกลยุทธ์ smart use
ข้อเสนอแนะ ระดับกระทรวง ขอให้กระทรวงปรับปรุงระบบรายงานข้อมูล บริหารเวชภัณฑ์ ทาง Online (DMSIC) แยก ตามกลุ่มเวชภัณฑ์ ( ยา / วัสดุการแพทย์ / วัสดุ วิทย์ฯ / วัสดุทันตฯ / วัสดุ X-ray… จ้างและซื้อ ) แผนการจัดซื้อ รายงาน ASU และกำหนดให้ หน่วยงานทุกระดับ ( กระทรวง / เขต / จังหวัด ) ใช้ในการติดตาม / กำกับ ให้เป็นในแนวทาง เดียวและเวปไซด์เดียวกัน
สวัส ดี 11