ผู้วิจัย เด็กชาย เทพฤทธิ์ มาลา ดาษ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/10 เลขที่ 10.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้เสนอ นางประภัสสร แก้วประสาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
Advertisements

ประวัติความเป็นมา ธงประจำชาติ ประเทศอาเซีย แบบทดสอบ ผู้จัดทำ.
ศึกษาพฤติกรรมการเรียนรายวิชาพิมพ์ดีดอังกฤษ 1 ของนักเรียน
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
อ. สิริพร มีนะนันทน์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
การพัฒนาระบบทะเบียน ของ โรงเรียนเมโทรเทคโนโลยี จังหวัดเชียงใหม่
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “ การปฏิบัติงานพัสดุไม่ ยากอย่างที่คิด ” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย
นางสาวนิสรีน อัศวะ วิวัฒน์กุล. การปฏิบัติที่ซ้ำซ้อน มีขั้นตอนในการ ปฏิบัติงานหลายขั้นตอน ทำให้การจัดทำ เอกสารต่าง ๆ ล่าช้าและเป็นการเพิ่มภาระ งานโดยไม่จำเป็น.

แบบสอบถาม (Questionnaire)
ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานประกอบการต่อการฝึกงานของนักศึกษา ระดับปวส
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
ชื่อ เด็กหญิง สุนิสา อาสากิจ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/11 เลขที่45
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ฉวีวรรณ สุขสุนัย หน.กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
ความหมายของโครงงาน (Project Approach) คือ กิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนและผู้ที่จะศึกษาได้ทำการศึกษาค้นคว้าและฝึกปฏิบัติด้วยตนเองตามความสามารถ ความถนัด.

สาระที่ สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน มาตรฐาน ส เข้าใจระบบและสถาบันทาง เศรษฐกิจต่างๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและความจำเป็น ของการร่วมมือกัน ทางเศรษฐกิจในสังคมโลก.
วิชาโครงการ รหัส & ระดับ ปวช. และ ปวส.
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ประชาคมอาเซียน.
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา(Educational Media)
16. การเขียนงานวิจัยแบบง่าย ๆ
การประเมินผลการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป BC Account Version 5.5 Standard สำหรับงานบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ พลอย ประสงค์ทรัพย์ กลุ่มงานบัญชี
แนวโน้มอุณหภูมิที่ส่งผล ต่อปริมาณการผลิตลิ้นจี่ ในจังหวัดเชียงราย นายทยากร พร มโน รหัส
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ความพึงพอใจต่อการบริหาร จัดการโครงการเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริงด้วยวิธีการ เรียนรู้แบบศึกษาดูงาน บริหารธุรกิจสาขาการจัดการ / การตลาด ภาคเรียนที่ 2/2556.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
การพัฒนาความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียนโดย การชมนิทรรศการในงาน BBC’s Educa Talent Contest 2014 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 สาขางานภาษาต่างประเทศ.
ความพึงพอใจที่มีต่อ ประสิทธิภาพ การ ปฏิบัติงานธุรการ นางพนิดา ชวนประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ประชาคมอาเซียน ( AEC ) สวัสดีอาเซียน.
การสัมมนาวิชาการ สมาคมนักวิจัยและเพาะเห็ดหอมแห่งประเทศไทย เรื่อง เห็ดไทย ... กับการก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน วันศุกร์ที่ 11 พฤษภาคม 2555 ณ โรงแรมเอเชียแอร์พอร์ต.
การรวมกลุ่มประเทศ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ธงชาติประเทศในอาเซียน
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
หลักเทคนิคการเขียน SAR
วิทยาลัยเทคโนโลยี ดอนบอสโกสุราษฎร์
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
กลุ่มเกษตรกร.
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
มุมป๋วย เพื่ออุษาคเนย์ และอาเซียน
ผลของการจัดท่าคลอดแบบ semi-squatting
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด
การขอโครงการวิจัย.
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
การจัดการความรู้ Knowledge Management
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การเตรียมตัวสู่ประชาคมอาเซียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
ไทย กัมพูชา พม่า ลาว การแต่งกายในอาเซียน.
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้วิจัย เด็กชาย เทพฤทธิ์ มาลา ดาษ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/10 เลขที่ 10

บทที่ 1 บทนำ ความเป็นมา จากความคิดของสมาชิกภายในกลุ่ม เมื่อมีประชาคมอาเซียน เข้ามาในประเทศไทยต้องมีการเปลี่ยนแปลงการดำเนินชีวิตเป็นอย่าง แน่นอน สมาชิกในกลุ่มจึงอย่างรู้ว่าเปลี่ยนแปลงเช่นไร และมีวิธีการเตรียม รับมือกับประชาคมอาเซียนอย่างไร วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาการดำเนินชีวิตของคนไทยเมื่อประชาคมอาเซียน เข้าสู่ประเทศไทย 2. เพื่อเตรียมตัวรับมือกับประชาคมอาเซียน ขอบเขต สถานที่ : โรงเรียนเดชอุดม ระยะเวลา : ใช้เวลาดำเนินการทั้งสิ้น ประมาณ 1 เดือน ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้รับความรู้เกี่ยวกับประชมคมอาเซียน 2. ไว้เป็นแนวทางการศึกษาของประชาชนทั่วไป

บทที่ 2 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ในการศึกษาเรื่อง การดำเนินชีวิตของคนไทย เมื่อเข้าสู่ประชาคม อาเซียน กลุ่มผู้จัดทำได้รวบรวมแนวคิดทฤษฎีและหลักการต่าง ๆ จาก เอกสารที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้ ประวัติโดยสังเขป AEC เป็นการพัฒนามาจากการเป็น สมาคม ประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (The Association of South East Asian Nations : ASEAN) ก่อตั้งขึ้นตามปฏิญญากรุงเทพฯ (Bangkok Declaration) เมื่อ 8 สิงหาคม 2510 โดยมีประเทศผู้ก่อตั้งแรกเริ่ม 5 ประเทศ คือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย ต่อมาในปี 2527 บรูไน ก็ได้เข้าเป็นสมาชิก ตามด้วย 2538 เวียดนาม ก็เข้าร่วมเป็น สมาชิก ต่อมา 2540 ลาวและพม่า เข้าร่วม และปี 2542 กัมพูชา ก็ได้เข้า ร่วมเป็นสมาชิกลำดับที่ 10 ทำให้ปัจจุบันอาเซียนเป็นกลุ่มเศรษฐกิจ ภูมิภาคขนาดใหญ่ มีประชากร รวมกันเกือบ 500 ล้านคนจากนั้นในการ ประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 9 ที่อินโดนีเซีย เมื่อ 7 ต. ค ผู้นำ ประเทศสมาชิกอาเซียนได้ตกลงกันที่จะจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ซึ่งประกอบด้วย 3 เสาหลัก คือ 1. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Asean Economic Community: AEC) 2. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (Socio-Cultural Pillar) 3. ประชาคมความมั่นคงอาเซียน (Political and Security Pillar) คำขวัญของอาเซียน คือ “One Vision, One Identity, One Community.” หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งอัตลักษณ์ หนึ่งประชาคม

บทที่ 3 วิธีศึกษาค้นคว้า ประชาการกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ ผู้ปกครองของนักเรียนชั้น ม. 2/10 โรงเรียนเดชอุดม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแบบสอบถาม (Questionnaire) ซึ่ง เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการทบทวนแนวคิดทฤษฎี และผล งานวิจัยที่เกี่ยวข้องแล้วนามาปรับปรุงใช้ให้เหมาะสมกับการ ศึกษาวิจัยใน ครั้งนี้แบ่งเนื้อหาของคำถามออกเป็น 2 ส่วนดังนี้ ส่วนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถามเช่น เพศ อายุ ส่วนที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน การเตรียมตัวรับมือ กับประชาคมอาเซียน การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. กำหนดหัวเรื่องที่จะศึกษา 2. นำมารวบรวมข้อมูล 3. ตรวจสอบข้อมูล 4. วิเคราะห์ข้อมูล 5. เรียบเรียงและเสนอ

บทที่ 4 ผลการทดลอง ในการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการดำเนินชีวิตของคนไทย เมื่อเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน เมื่อได้ข้อมูลที่แน่นอนแล้วนำข้อมูลมาทำเป็น แบบสอบถาม โดยแบบสอบถามจำนวน 30 ชุดนี้ เราจะให้กับผู้ปกครอง ของนักเรียนชั้น ม. 2/10 โรงเรียนเดชอุดม จำนวน 30 คน เป็นผู้ตอบ แบบสอบถาม หลังจากนั้นก็นำข้อมูลจากแบบสอบถามที่ได้มานั้นมาหา ค่าเฉลี่ย

บทที่ 5 สรุปผลการทดลอง สรุปผลการประเมิน จากตารางได้ข้อสรุปว่าประชาชนส่วนใหญ่นั่น ส่วนใหญ่พึง พอใจกับการที่ประชาคมอาเซียนเข้ามาสู่ประเทศไทย โดยเฉพาะในข้อ ประชาคมอาเซียนมีประโยชน์ต่อประเทศไทยมากแค่ไหน ด้านการศึกษาจะ ดีขึ้นมากแค่ไหน ด้านเศรษฐกิจในประเทศจะดีขึ้นมากแค่ไหน ส่งผลต่อ การคมนาคมภายในประเทศมากแค่ไหน ปัญหาการว่างงานเยอะขึ้นมากแค่ ไหน เป็นข้อที่ประชาชนส่วนใหญ่ให้ข้อสรุปไว้ว่า “ มาก ” นอกจากนั่นหัวข้อ สภาพสังคมจะดีขึ้นกว่าเดิม ความพึงพอใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน การดำเนินชีวิตประจำวันจะสะดวกสบาย กว่าเดิม อนาคตของอาเซียนจะพัฒนามากแค่ไหน เป็นหัวข้อที่ประชาชน 30 คนให้ข้อสรุปไว้ว่า “ ปานกลาง ”