การคลังสุขภาพ การวัดประสิทธิภาพของสถานีอนามัย และเตรียมการถ่ายโอนสถานีอนามัย ให้ท้องถิ่น ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การประชุมสัมมนา.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

นายชิดชัย อังคะ ไวมงคล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ ผังเมือง นายมนัส ปรุง ทำนุ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ ร. อ. ปกรณ์เดช โลหิตหาญ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ.
เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
แนวทางการบริหารงบประมาณ
การจัดสรรตำแหน่งและการ คัดเลือก เพื่อบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเข้า รับราชการ.
ตราด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นางสาวอุสิมา สิงห์โตทอง
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดชัยภูมิ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ชุมพร ว่าง สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด ว่าง
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ชลบุรี ว่าง นายชิดชัย อังคะไวมงคล
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
นางพจนีย์ ขจร ปรีดานนท์ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ ( ว่าง ) หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป นายปรีชา.
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
สกลนครโมเดล.
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ธนาคารออมสิน.
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
ความพึงพอใจที่มีต่อ ประสิทธิภาพ การ ปฏิบัติงานธุรการ นางพนิดา ชวนประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
๓ มุ่งหน้าสู่พื้นที่ “จุดเริ่มและเป้าหมายอยู่ที่พื้นที่”
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
บทที่ 4 การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
ผลการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
การจัดลำดับความสำคัญของโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การดำเนินงานกลุ่มบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ จังหวัดเชียงใหม่
แนวทางใหม่ในการบริหารงานบุคคล ลูกจ้างประจำเงินรายได้
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
รศ.ดร. ชัยยุทธ ปัญญสวัสดิ์สุทธิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยลัย ธรรมศาสตร์
ผังองค์กรกลุ่มงานประกันสุขภาพ
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การวางแผนกำลังการผลิต
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
รายงานสถานการณ์E-claim
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
4.2.3แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การคลังสุขภาพ การวัดประสิทธิภาพของสถานีอนามัย และเตรียมการถ่ายโอนสถานีอนามัย ให้ท้องถิ่น ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การประชุมสัมมนา จัดโดยองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดเชียงใหม่ วันอังคารที่ ๙ มีนาคม ๒๕๕๓ จังหวัด เชียงใหม่

21/09/592 การสร้างเสริมสุขภาพประชาชนและ บทบาทของ อปท. การสร้างเสริมสุขภาพเกี่ยวข้องกับปัจจัยทางสังคม องค์การอนามัยโลกย้ำถึงความสำคัญของมิติทาง สังคมในฐานะปัจจัยที่ช่วยเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมของประชาชนที่เป็นคุณต่อสุขภาพ ป้องกันโรค สร้างเสริมสุขภาพ ฯลฯ ซึ่งจะช่วยลด ภาระการทำงานรักษาพยาบาล ลดค่าใช้จ่ายของรัฐ เพิ่มคุณภาพชีวิตของประชาชน ปัจจุบัน อปท. มีการทำงานด้านสุขภาพมากขึ้น ตามลำดับ ซึ่งถือว่าเป็นพัฒนาการที่น่าสนใจที่ สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน คือ กองทุนสุขภาพตำบล และ การถ่ายโอนสถานี อนามัย ซึ่งเป็นไปตามนโยบายของ กกถ. และ รัฐบาล

21/09/593 การวิจัยการคลังสุขภาพ ในโอกาสนี้ขอนำการวิจัย “ การติดตามประเมินผล ของสถานีอนามัย ” มาเล่าสู่กันฟัง ซึ่งดำเนินการ โดยสำนักงานวิจัยหลักประกันสุขภาพ ( สวปก ) การวิจัยครอบคลุมหลายมิติ การคลังสุขภาพเป็นส่วนหนึ่ง เน้นการศึกษา ประสิทธิภาพของสถานีอนามัย เก็บข้อมูลในปี ๒๕๕๒ จาก ๑๒ จังหวัด กรณีศึกษานี้ ครอบคลุมสถานีอนามัย ๒๔๖ แห่ง

21/09/594 การใช้ทรัพยากรของสถานี อนามัย สถานีอนามัย ให้บริการประชาชน ค่าเฉลี่ย ๕๔๙๑ คน ( ขั้นต่ำ ๑ พันกว่าคน ขั้นสูง ๓ หมื่นเศษ ) การใช้จ่าย ค่าเฉลี่ย ๑. ๙๖ ล้านบาทต่อปี ( ค่าต่ำ ๘ แสนบาทเศษ ขั้นสูงเกือบ ๑๐ ล้านบาท ) รายจ่ายแบ่งออกเป็น ๓ หมวดใหญ่ คือ เงินเดือน ค่าจ้าง ค่าตอบแทน และค่าดำเนินการ สัดส่วน ร้อยละ ๔๘ ๑๗ และ ๓๕ ตามลำดับ

21/09/595 การใช้ทรัพยากรของสถานี อนามัย การบริการสถานีอนามัย ( การวัดผลผลิต ) การตรวจรักษาเบื้องต้น การตรวจเยี่ยมผู้ป่วยในสถานีอนามัย การตรวจเยี่ยมนอกสถานีอนามัย การบริการอื่นๆ เช่น งานอนามัยชุมชน

21/09/596 เงินสนับสนุนที่สถานีอนามัยได้รับ สถานีอนามัยได้รับการสนับสนุนจาก  เทศบาล หรือ อบต  กองทุนสุขภาพตำบล  อบจ.  กองทุนชุมชน  หน่วยงานอื่น

21/09/597 การวิเคราะห์ประสิทธิภาพของสถานี อนามัยโดยใช้แบบจำลองเศรษฐมิติ วัดประสิทธิภาพ cost frontier ผลการศึกษาตามแบบจำลอง สรุปได้ว่า ประสิทธิภาพเท่ากับร้อยละ 70 ซึ่งเป็น เรื่องธรรมดา มีศักยภาพที่จะประหยัดค่าใช้จ่ายลงได้ร้อย ละ 30 โดยประมาณ สาเหตุของความด้อยประสิทธิภาพ มาจาก การทำงานต่ำกว่าระดับ (under-utilization of resources) หมายถึง มีศักยภาพที่จะขยายการให้บริการ เพิ่มขึ้น

21/09/598 วิเคราะห์ ต้นทุนต่อหน่วยของ สถานีอนามัย

21/09/599 การเตรียมการของ อปท. เพื่อจะรับถ่าย โอนสถานีอนามัย โปรแกรมการอบรมความรู้ด้านการบริหาร สถานีอนามัย ศึกษาจากกรณีตัวอย่างสถานีอนามัยที่มี ประสิทธิภาพสูง มีผลผลิต - มีต้นทุนอย่างไร มีนวัตกรรมเด่นๆอย่างไร พิจารณาว่า ควรจะมีแนวทางการทำงานเชิง รุกอย่างไร ? หลังรับถ่ายโอนสถานีอนามัย การควบรวมสถานีอนามัย การทำงานเชิงสหการระหว่าง “ กองทุน สุขภาพตำบล ” และ “ สถานีอนามัย ” เพื่อ ประโยชน์สุขของประชาชน