รศ. ดร. สิทธิชัย แก้วเกื้อกูล คณบดี รศ. สุวรรณา สมบุญสุโข รองคณบดีฝ่ายบริหาร ผศ. ดร. คมกฤตย์ ชมสุวรรณ รองคณบดีฝ่ายวางแผน และพัฒนา รศ. ดร. กุลธิดา ธรรมวิภัชน์ รองคณบดีฝ่ายสารนิเทศและ กิจการนักศึกษา รศ. ดร. สุชปา เนตรประดิษฐ์ รองคณบดีฝ่ายวิจัยและ ประกันคุณภาพการศึกษา รศ. ดร. สุรชัย สุขสกุลชัย ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิจัยและ บัณฑิตศึกษา ผศ. ดร. เสกสรร แย้มพินิจ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายการศึกษา ผศ. ดร. พิเชษฐ์ พินิจ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการ ผศ. ดร. พงศ์ยุทธ์ จั่นทอง ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายสารนิเทศและ กิจการนักศึกษา จ. ส. อ. พินิจ ประจันตวนิช เลขานุการคณะ คณะกรรมการกลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษา
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง – ผศ. ปิยะ ศุภวราสุวัฒน์ – ดร. กาญจนา บุญภักดิ์ – นางเตือนใจ ทินราช – นางวิภา รอดย้อย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ – อาจารย์ อนุวิทย์ สนศิริ รองคณบดีฝ่ายกิจการ ทั่วไป – อาจารย์ ดร. ชยศมน ทรัพย์สุขบวร หัวหน้าภาควิชาครุศาสตร์ อุตสาหกรรมและเทคนิคศึกษา – อาจารย์ พิณทิพย์ เทียนจวง เลขานุการงานประกัน คุณภาพคณะฯ – ผู้ช่วยศาสตราจารย์ โสริยา ชิโนดม ผู้ช่วยเลขานุการงาน ประกันคุณภาพคณะฯ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร - คุณสมชาย เหลืองสด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน - ผศ. ดร. วิชิต สุทธิพร
เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางด้านการประกัน คุณภาพการศึกษาระหว่างสถาบันที่มีการจัดการเรียนการ สอนด้านครุศาสตร์อุตสาหกรรม เพื่อเสริมสร้างกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการ ประกันคุณภาพการศึกษาระหว่างผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษาระหว่างสถาบัน เพื่อเสริมสร้างวัฒนธรรมในการดำเนินโครงการหรือ กิจกรรมต่างๆ ภายใต้ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อให้มีการพัฒนาผลการดำเนินงานร่วมกันอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพตามแนวทางการดำเนินงานด้านการ ประกันคุณภาพศึกษา
เมื่อวันพุธที่ 15 มิถุนายน 2554 คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี ได้จัดกิจกรรมเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการประกัน คุณภาพการศึกษากับ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
รับรองรายงานการประชุม วันพุธที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๔ การแลกเปลี่ยนข้อมูลของผลการประเมินคุณภาพ รอบการประเมินปี ๒๕๕๓ แนวทางการพัฒนาคุณภาพรอบการประเมินปี ๒๕๕๔ ของแต่ละสถาบัน ปัญหาอุปสรรค และแนวทางแก้ไข ของแต่ละสถาบัน แนวทางการพัฒนาโครงการหรือกิจกรรมที่จะดำเนินการร่วมกัน เรื่องอื่นๆ
ผลการประเมินเฉลี่ย ๒๓ ตัวบ่งชี้ ของ สกอ. เท่ากับ ๓. ๖๔ – องค์ประกอบที่ ๑ ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดา เนินการ ระดับดี – องค์ประกอบที่ ๒ การเรียนการสอน ระดับ พอใช้ – องค์ประกอบที่ ๓ กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา ระดับดี – องค์ประกอบที่ ๔ การวิจัย ระดับ พอใช้ – องค์ประกอบที่ ๕ การบริการทางวิชาการแก่สังคม ระดับต้องปรับปรุง – องค์ประกอบที่ ๖ การทานุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ระดับดีมาก – องค์ประกอบที่ ๗ การบริหารและการจัดการ ระดับดี – องค์ประกอบที่ ๘ การเงินและงบประมาณ ระดับพอใช้ – องค์ประกอบที่ ๙ ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ระดับดีมาก ผลการประเมินตนเอง ๑๘ ตัวบ่งชี้ ของ สมศ. เท่ากับ ๔. ๓
การพัฒนาระบบฐานข้อมูลและระบบ สารสนเทศ การจัดตั้งกลุ่มพัฒนาคุณภาพ 7 ด้าน การจัดทำคู่มือประกันคุณภาพ 9 องค์ประกอบ การพัฒนาระบบและกลไกด้านต่างๆ การออกแบบเอกสารเพื่อวงจร PDCA การจัดกิจกรรมตามเกณฑ์คุณภาพ
– องค์ประกอบที่ 2 การเรียนการสอน 2.4, 2.7, 2.8 – องค์ประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา 3.2 – องค์ประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแก่ สังคม 5.2 – องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกัน คุณภาพการศึกษาภายใน มีเครือข่ายการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการประกัน คุณภาพการศึกษาระหว่าง สถาบัน และมีกิจกรรมร่วมกัน
ขอบคุณ