นโยบายและการส่งเสริมการใช้ Open Source Software ในหน่วยงานภาครัฐ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
Advertisements

ความรู้เรื่องประชาคมอาเซียน
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2623 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4239 อัตราว่าง จำนวน 3 อัตรา ( ชำนาญการพิเศษ = 2 ชำนาญการ = 1) มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
LOGO แนวคิดเกี่ยวกับระบบ สารสนเทศ นางสาวกนกรัตน์ นพ โสภณ SMET
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
แผนแม่บทระบบสถิติประเทศไทย ฝ่ายวิชาการและวางแผนสำนักงานสถิติจังหวัดระยอง 1.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
การบริหารจัดการ ติดตาม และประเมินผล. กลไกการขับเคลื่อนการดําเนินการ ดําเนินการโดยผ่านกลไกของคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารแห่งชาติ ( กทสช.)
นโยบายและการส่งเสริมการใช้ Open Source Software ในหน่วยงานภาครัฐ
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
สำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์กับ Digital Skill Training Roadmap
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การจัดลำดับความสำคัญของโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
การบริหารจัดการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
แผนการขายลูกค้า SMEs พื้นที่ บน.3.1 ขบน ก.พ
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
รศ. ทวีศักดิ์ สูทกวาทิน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
SMS News Distribute Service
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การปกครองท้องถิ่น ในปัจจุบัน
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การบริหารจัดการระบบสารสนเทศ (ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์)
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
4.2.3แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
จริยธรรม (Ethics) คืออะไร
การประชุมผู้บริหารระดับสูง
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบายและการส่งเสริมการใช้ Open Source Software ในหน่วยงานภาครัฐ นางเมธินี เทพมณี ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

ความเป็นมา กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2545 ภายใต้ พรบ.ปรับปรุงกระทรวงทบวง กรม พ.ศ. 2545 อำนาจหน้าที่ : วางแผนส่งเสริม พัฒนา และดำเนินการเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การอุตุนิยมวิทยา และการสถิติ หน่วยงานในสังกัด : ประกอบด้วย 7 หน่วยงาน ส่วนราชการ 3 หน่วย (สป.ทก., อต., สสช.) รัฐวิสาหกิจ 3 หน่วย (TOT ,CAT ,ปณท.) องค์การมหาชน 1 หน่วย (SIPA)

กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ โครงสร้างกระทรวง กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานรัฐมนตรี ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน โครงสร้างกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวง กรมอุตุนิยมวิทยา สำนักงานสถิติแห่งชาติ บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) บริษัทไปรษณีย์ไทย จำกัด สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) 4

พันธกิจ เสนอแนะและดำเนินการนำนโยบายของรัฐบาลด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม 1 ส่งเสริมให้ประเทศไทยมีบทบาทในภูมิภาคอาเซียนในการเป็นศูนย์กลางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2 ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในทุกภาคส่วนเพื่อการพัฒนาประเทศในด้านต่างๆ อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ 3 ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อเพิ่ม ศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารของประเทศไทย 4 ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5 6 ติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

มูลค่าตลาด ICT ประเทศไทย ปี 2550

มูลค่าตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ไทย ปี 2550

เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2551 นโยบายรัฐบาลด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2551 นโยบายรัฐบาลด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ พัฒนาอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ และอุตสาหกรรมที่ เกี่ยวข้องด้านบริการความรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และจัดให้มีกลไก สนับสนุนแหล่งทุนสำหรับผู้ประกอบธุรกิจเทคโนโลยีสารสนเทศ ขนาดกลางและขนาดย่อม รวมทั้งพัฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพได้ มาตรฐานและสอดคล้องกับความต้องการของตลาด เพื่อผลักดันให้ ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารในภูมิภาค

ร่างวิสัยทัศน์ พันธกิจ และประเด็นยุทธศาสตร์ ของแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 2) ของประเทศไทย พ.ศ. 2552 - 2556 10

วิสัยทัศน์-พันธกิจ-วัตถุประสงค์ พัฒนากำลังคนที่มี คุณภาพและ ปริมาณเพียงพอ พัฒนาโครงข่าย ICT ความเร็วสูง พัฒนาระบบบริหาร จัดการ ICT ที่มี ธรรมาภิบาล วัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มปริมาณและศักยภาพของกำลังคน ICT สร้างธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ ICT สนับสนุนการปรับโครงสร้างการผลิต สร้างความเข้มแข็งของชุมชนและปัจเจกบุคคล สร้างศักยภาพของธุรกิจและอุตสาหกรรม ICT วิสัยทัศน์ “Smart Thailand” … % of Thais to have Information Literacy Increase ICT industry contribution to GDP Enhance ICT Readiness, e-Government Performance in international rankings

SMART Thailand Our Strategies ICT for Competitiveness (Strategic industries, SMEs) ICT Infrastructure E-Governance ICT Industry National ICT Management Framework (Institutional arrangement, Rules and Regulation, Financing, …) Human Resources (ICT Professionals and “Information-Literate” People)

ประเด็นยุทธศาสตร์ การพัฒนากำลังคนด้าน ICT และบุคลากรในทุกวิชาชีพที่มีความสามารถในการใช้ สารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณและรู้เท่าทัน (Information Literacy) 1 การสร้างธรรมาภิบาลในระบบบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (National ICT Management Framework 2 3 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อให้เกิดธรรมาภิบาลในการบริหารและการบริการของภาครัฐ (e-Governance) 4 ยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรม ICT (ICT Industry Competitiveness) เพื่อสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและรายได้เข้าประเทศ 5 6 การใช้ ICT เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน (ICT for Competitiveness)

ยุทธศาสตร์ที่ 5: ยกระดับขีดความสามารถของอุตสาหกรรม ICT

กรอบยุทธศาสตร์ และผลลัพธ์ตาม (ร่าง) แผนแม่บท ICT ประเทศไทย ฉบับที่ 2 พ กระจายโอกาส เพื่อความยั่งยืน สังคมคุณภาพ ศักยภาพ และการแข่งขัน ผลลัพธ์ในภาคเศรษฐกิจอื่น ทรัพย์สินทางปัญญา ทุนทางปัญญา มูลค่าเพิ่มในผลิตภัณฑ์และบริการที่สูงขึ้น Mass customization การอำนวยความสะดวกแก่ประชาชน/ภาคเอกชน การลดค่าใช้จ่ายของภาคเอกชน ลดความสูญเสียจากการทำงานที่ขาดความโปร่งใส ความทั่วถึงและเท่าเทียมกันในการเข้าถึงสารสนเทศ โอกาสทางการศึกษาและสุขภาพที่ดีของประชาชน ทรัพยากรมนุษย์ที่มีความสามารถ มีคุณธรรม จริยธรรม 4. ใช้ ICT เพื่อช่วยสร้างธรรมาภิบาลของภาครัฐ 5. พัฒนาอุตสาหกรรม ICT 6. ใช้ ICT ในภาคการผลิตและบริการที่เป็นยุทธศาสตร์ของประเทศ 2. บริหารจัดการ ICT อย่างมีธรรมาภิบาล (ICT Governance) eGovernance is "superstructure", so it is on top. 3. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 1. พัฒนากำลังคน (ICT Professionals & ICT literate people) 15 15

มาตรการส่งเสริม Open Source ตาม (ร่าง) แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 2) ของประเทศไทย พ.ศ. 2552-2556 “สนับสนุนให้เกิดชุมชนของผู้พัฒนาในสาขาต่าง ๆ อาทิ Open Source Software/Embedded Software ทั้งนี้รวมถึงการมี กลไกสนับสนุนให้บุคลากรนักพัฒนาของไทย สามารถเข้า ร่วมโครงการระดับโลก (International Forum) ได้ เพื่อสร้าง ให้เกิดการวิจัยพัฒนาต่อยอดเทคโนโลยี และทำให้เกิดความ เข้มแข็งของบุคลากร ICT ไทย”

Open Source Software ปัจจุบันองค์กรหลายแห่งในประเทศไทยมีการใช้โปรแกรม Open Source Software เป็นเครื่องมือหลักในด้านธุรกิจ และสามารถใช้งาน ได้เป็นอย่างดี มีเสถียรภาพสูง เป็นสิ่งที่ยืนยันได้ว่า โปรแกรม Open Source Software เป็นทางเลือกที่เป็นไปได้

คำตอบสุดท้ายในการเลือก Open Source Software ลดการละเมิดลิขสิทธิ์ ลดภาระงบประมาณรายจ่ายในการซื้อซอฟต์แวร์ลิขสิทธิ์ เพิ่มทางเลือกของการใช้ซอฟต์แวร์ พัฒนาฝีมือ ทักษะของโปรแกรมเมอร์และผู้ใช้งาน มีอิสระในการกำหนดทิศทางการพัฒนาต่อยอดซอฟต์แวร์ใหม่

ตัวอย่าง Open source software ในกลุ่ม Desktop Application ที่สามารถนำมาใช้แทนซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์ได้ Open Office เทียบเท่า Microsoft Office Mozilla Firefox เทียบเท่า Internet Explorer GIMP เทียบเท่า Adobe Photoshop Mozilla Thunderbird เทียบเท่า Microsoft Outlook Express Lnkscape เทียบเท่า Adobe llustrator PDFCreator เทียบเท่า Adobe Arcobat OpenProj เทียบเท่า Microsoft Project

นโยบายรัฐบาลของประเทศต่าง ๆ ฮ่องกง BSA ได้ทำงานร่วมกับ Custom & Excise Department และ the Intellectual Property Department ในการรณรงค์ส่งเสริมในการตรวจสอบซอฟต์แวร์ที่ใช้ใน องค์การต่าง ๆ ของภาครัฐ ช่วยให้การละเมิดลิขสิทธิ์ลดลง อินเดีย มีการผลักดันในการใช้ Broadband ในการต่อเชื่อม PCs ควบคู่ไปกับการให้การศึกษาและความพยายามในการ บังคับใช้ซอฟต์แวร์ลิขสิทธิ์ ซึ่งจะเป็นการช่วยในการผลักดัน ซอฟต์แวร์ที่อินเดียได้พัฒนาออกสู่ตลาดซอฟต์แวร์

นโยบายรัฐบาลของประเทศต่าง ๆ (ต่อ) ญี่ปุ่น ด้วยการสนับสนุนของ Ministry of Education, Culture, Sports and Science & Technology โดยที่ BSA ได้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยจัดทำโปรแกรมในการช่วยสร้าง ความตระหนักเกี่ยวกับ Software asset management เพื่อ ช่วยผลักดันซอฟต์แวร์ลิขสิทธิ์ และสร้างความตระหนักใน เรื่องลิขสิทธิ์ มาเลเซีย รัฐบาลได้...กับภาคธุรกิจที่ใช้ซอฟต์แวร์ผิด กฎหมาย และได้รณรงค์ให้มีการศึกษาร่วมกับ BSA ใน โครงการ “Sikap Tulen” เพื่อความพยายามในการเปลี่ยน ความคิดของผู้บริโภคให้หันมาใช้ซอฟต์แวร์ลิขสิทธิ์

หลักเกณฑ์การพิจารณางบประมาณของหน่วยงานภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 หลักเกณฑ์และแนวทางการพิจารณางบประมาณ ปี 2552 การ จัดซื้อจัดจ้างระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารตามประเด็นที่ เกี่ยวข้องกับโปรแกรมสำนักงานสำเร็จรูป ....ข้อ1.2 ชุดโปรแกรมสำนักงานสำเร็จรูป(Office Application) ในการดำเนินการจัดหาชุดโปรแกรมสำนักงานสำเร็จรูป ให้พิจารณาจัดหาซอฟท์แวร์ลิขสิทธิ์เพียงร้อยละ 80 ของจำนวนที่ขอจัดหา โดยในส่วนที่เหลือร้อยละ 20 ให้หน่วยงานใช้ซอฟท์แวร์รหัสเปิด (Open Source Software) เพื่อเป็นการลดภาระงบประมาณรายจ่าย ที่มา : สำนักงบประมาณ

พันธมิตรร่วมในการสนับสนุน

ขอบคุณค่ะ