โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ 084-8556835 อีเมล์ sriruksar@hotmail.co.th.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สภาพปัญหา / สาเหตุของปัญหา กระบวนการวางแผน/แนวทางการพัฒนา
Advertisements

ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2554
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ผลการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคเอดส์
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือน กันยายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
แผนการควบคุมวัณโรค จังหวัดนราธิวาส
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
สถานการณ์จังหวัดสระบุรี ปี 2555
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ชื่อผู้ติดต่อ นางสุรัสวดี เกาฏีระ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยวัณโรค โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ป่วยเป็นวัณโรค
ชื่อโรงพยาบาล ขนาด... เตียง จังหวัด ชื่อผู้ติดต่อ กลุ่มงาน โทรศัพท์ อีเมล์
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
การประเมินผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
รพ.พุทธมณฑล.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
Goal: people are healthy & safety from Tuberculosis In Chiang Mai.
ระบบรายงานผลการปฏิบัติงานข้อมูลเอดส์ จากเวปไซด์ สปสช. ด้วยโปรแกรม NAP_Report ธงชัย ตั้งจิตต์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย.
ผลงาน : เพิ่มประสิทธิภาพในการ รักษา ด้วย... การเสริมพลังอำนาจในกลุ่มผู้ ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ โรงพยาบาลอากาศอำนวย อำเภออากาศอำนวย จังหวัด สกลนคร.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
แผนงานยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุขด้านพัฒนาสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ กระทรวงสาธารณสุข สถานการณ์ปัญหา : ด้าน โครงสร้างประชากร ปัจจุบันประเทศไทย : ( ข้อมูล ณ.
เป้าหมายงานวัณโรค ปี 2559 ระดับความสำเร็จของการควบคุมวัณโรค 1. การค้นหาและรายงานผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เพิ่มขึ้น 10% ( ของปี 56) 2. รพ. ผ่านมาตรฐานรพ. คุณภาพการดูแลรักษาวัณ.
นางประภาภรณ์ กิจวัฒนาชัย พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
โครงการพัฒนารูปแบบ การคัดกรองวัณโรคและการรักษาวัณโรค
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ปัจจัยที่มีผลต่อการรักษาวัณโรคดื้อยาหลายขนานไม่สำเร็จ
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
COMPETENCY DICTIONARY
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
วัณโรค Small success 3 เดือน PA กสธ./เขต/จังหวัด 30 มิถุนายน 2560.
คลินิกบริการดูแลผู้ติดเชื้อHIV/AIDS โรงพยาบาลเขาสมิง จังหวัดตราด
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
แนวทางการดำเนินกิจกรรมและการสนับสนุนงบประมาณของ กองทุนโลกด้านวัณโรค “โครงการยุติปัญหา วัณโรคและเอดส์ด้วยชุดบริการ RRTTR: STAR-NFM” ของจังหวัดสระบุรี”
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 Service Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
การดำเนินงานกลุ่มบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ จังหวัดเชียงใหม่
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
สรุปแนวทางการดำเนินงานวัณโรค ปี ๒๕๖๑
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
PMTCT service โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ อุบลราชธานี
ความสำเร็จของโครงการจัดการเชิงรุกรายบุคคลเพื่อเริ่มยาต้านไวรัส
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
องค์กรต้นสังกัด: โรงพยาบาล ระแงะ จังหวัด นราธิวาส
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
พัฒนาระบบบริการคัดกรองเบาหวาน ขึ้นจอประสาทตาในผู้ป่วยเบาหวาน
การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยรับยาต้านไวรัสเอดส์
ศูนย์ปฏิบัติการยุติวัณโรค NOC TB อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม
ระบบบริการสาขาสุขภาพจิตและจิตเวช และยาเสพติด เขตสุขภาพที่ 3 ปีงบประมาณ – 9 พฤษภาคม 2560 โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์
โรงพยาบาลยางตลาด 87 ม.20 ต.ยางตลาด อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์
การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เป็นวัณโรคแบบบูรณาการ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
จุดเน้นในการพัฒนา/แผนพัฒนา ความเสี่ยง/ความท้าทาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ 084-8556835 อีเมล์ sriruksar@hotmail.co.th

บริบท โรงพยาบาลอ่างทองเป็นโรงพยาบาลทั่วไป 324 เตียง โรงพยาบาลอ่างทองเป็นโรงพยาบาลทั่วไป 324 เตียง ผู้ป่วยนอกเฉลี่ยวันละประมาณ 900-1,100 ราย คลินิกยาต้านไวรัสและคลินิกวัณโรคจัดเป็น One stop Clinic โดยเปิดให้บริการ - คลินิกวัณโรค ทุกวัน พฤหัสบดี 8.30-12.00 น. - คลินิกยาต้านไวรัส วันจันทร์ที่1และ3 ให้บริการเจาะเลือด ตรวจ CD4 VL วันพุธที่ 1และ3 ให้บริการจ่ายยา

การ ผล ดำ เนิน งาน เอดส์ และ วัณ โรค โรง พยา บาล อ่าง ทอง ปี 2555 , 2556 , 2557

ปัญหาและสาเหตุ พ.ศ. 2555-2557 โรงพยาบาลอ่างทองพบว่า ............ พ.ศ. 2555-2557 โรงพยาบาลอ่างทองพบว่า ............ มีผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อเอชไอวีร้อยละ 19.01 อัตราตายในผู้ป่วยกลุ่มนี้ร้อยละ 15.98 เสียชีวิตก่อนรับยาต้านไวรัสเอดส์ร้อยละ 6.10 สาเหตุเกิดจากผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อเอชไอวีเหล่านี้ เข้าสู่ระบบการรักษาช้า ทำให้ระดับภูมิต้านทานลดลง มาก (CD4เฉลี่ย 39.47cell)

ผลการดำเนินงานเอดส์ 3 ปีย้อนหลัง ปี 55 ปี 56 ปี 57 1.จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ขึ้นทะเบียนการรักษาในปี 69 78 65  2. ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ขึ้นทะเบียนได้รับการตรวจคัด กรองวัณโรค (รายใหม่ CXR+ซักประวัติทุกราย รายเก่าซักประวัติ ทุกครั้งที่มารพ.) 66 73 62  3. ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ขึ้นทะเบียนได้รับการตรวจคัด กรองวัณโรคพบป่วยวัณโรค 17 19 28 

ผลการดำเนินงานวัณโรค 3 ปีย้อนหลัง ปี 55 ปี 56 ปี 57 1.จำนวนผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียนการรักษาในปี 112 133 163  2.จำนวนผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียนการรักษาในปีได้รับการตรวจเลือดคัดกรองเอชไอวี 93 143 3.จำนวนผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียนการรักษาพบผลเลือดเอชไอวี positive (คิดร้อยละต่อผู้ป่วยทั้งหมด) 19.64 16.54 20.85 

ผลการดำเนิน TB/HIV 3 ปีย้อนหลัง ปี 55 ปี 56 ปี 57 จำนวนผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียนการรักษาพบผลเลือดเอชไอวี positive ได้รับการตรวจ CD4 (คิดร้อยละต่อผู้ป่วย HIV positive) 72.72 76.47  จำนวนผู้ป่วยวัณโรคและเอชไอวี ได้รับยาต้านไวรัสตามเกณฑ์การรักษา(คิดต่อจำนวนผู้ป่วย HIV positive) 77.27 86.36 82.35  จำนวนผู้ป่วยวัณโรคและเอชไอวี ได้รับยาป้องกันโรคแทรกซ้อนตามแผนการรักษาตามเกณฑ์การรักษา (คิดต่อผู้ป่วยตามเกณฑ์ที่จะต้องรับยา OI) 92.86 100 100  ผู้ป่วยวัณโรคและเอชไอวีได้รับยาต้านไวรัสภายใน 2-8 อาทิตย์ตามเกณฑ์ประเทศ (CD4<50 ภายใน 2 สัปดาห์, CD4> 50 ภายใน 2-8 สัปดาห์ ) 7 8 18  จำนวนผู้ป่วยวัณโรคและเอชไอวี เสียชีวิตในปีที่ประเมิน 3 6 ค่ามัธยฐานระยะเวลาในการเริ่มยาต้านไวรัส Median time(วัน) 47 32 31  Median CD4 ของผู้ป่วยวัณโรคและเอชไอวี 84 71 95 

กิจกรรมการพัฒนา ทบทวนสถานการณ์วัณโรคและโรคเอดส์ในโรงพยาบาลโดยทีมสหวิชาชีพ ทบทวนตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องในการดำเนินงานผสมผสานวัณโรคและโรคเอดส์ย้อนหลัง3 ปี ทบทวนแนวปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ กำหนดให้มีผู้ประสานงานวัณโรคและโรคเอดส์เป็นบุคคลเดียวกัน กำหนดระยะเวลาในการเริ่มยาต้านไวรัสภายหลังรับการยารักษาวัณโรคจากเดิมภายใน 2-9 เดือน เป็น 2 - 4 สัปดาห์

กิจกรรมการพัฒนา การรับรักษาผู้ป่วยเสมหะบวกในโรงพยาบาล 2 สัปดาห์ การคัดกรองผู้สัมผัสร่วมบ้าน การทำงานร่วมกันของคลินิกวัณโรคและคลินิกยาต้านไวรัส เจ้าหน้าที่สามารถทำงานแทนกันได้ กำหนดให้มีเครือข่ายผู้ติดเชื้อ(ศูนย์องค์รวม)เพื่อติดตามดูแลผู้ป่วยในชุมชน ติดตามผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

ปัจจัยที่ทำให้งานสำเร็จ การทำงานเป็นทีมสร้างทีมงานที่เข้มแข็ง มีระบบ One Stop Service มีระบบรายงานที่สามารถวิเคราะห์สถานการณ์ได้อย่าง ครอบคลุม และมีคุณภาพ มีระบบขั้นตอนการทำงานที่เหมาะสม และมีมาตรฐาน

บทเรียนที่ได้รับ ความร่วมมือของทีมสหวิชาชีพของทั้ง 2 คลินิกทำให้การทำงานประสบความสำเร็จ ความล่าช้าในการวินิจฉัยผู้ป่วยทำให้ภูมิคุ้มกันต่ำลง ผู้ป่วยจะเสียชีวิตได้เร็ว

ประเด็นการพัฒนาต่อเนื่อง กำหนดให้มีศูนย์ส่งต่อผู้ป่วยไป PCU เพื่อติดตามการรักษาในชุมชน มุ่งเน้นระบบการติดตาม นิเทศงานในทุกระดับ ความร่วมมือระหว่าง อปท. และอาสาสมัครสาธารณสุข มีการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง

จบการนำเสนอ