เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
Advertisements

สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
การเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข แนวทางการสนับสนุน การดำเนินงานคณะอนุกรรมการ สาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.)
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการรายงานข้อมูลให้มีความ ครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัย ปีงบประมาณ กองแผนงาน -
นายแพทย์ศุภมิตร ชุณห์สุทธิวัฒน์ ที่ปรึกษากรมควบคุมโรค และ ที่ปรึกษาศูนย์ประสานงานเครือข่ายสุขภาพหนึ่งเดียว.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
เยี่ยมเสริมพลัง การจัดการความรู้ วันที่ 14 ก. ย
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
การประชุม เรื่อง การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี (พ. ศ
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ปีงบประมาณ 2560
การแปลงยุทธศาสตร์สู่แผนปฏิบัติการ ผู้อำนวยการสำนักทันตสาธารณสุข
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ตัวชี้วัดเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน
ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรมอนามัย
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
นายแพทย์ธีรพล โตพันธานนท์ รองอธิบดีกรมอนามัย
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย เขตสุขภาพที่ 6
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
บทบาทกรมอนามัยต่อการขับเคลื่อน มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การดำเนินงาน GREEN & CLEAN Hospital จังหวัดน่าน ปีงบประมาณ 2561
การจัดการความรู้ Knowledge Management
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
การดำเนินงานต่อไป.
ประเด็นและแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 ปีงบประมาณ 2560 การส่งเสริม สุขภาพ ป้องกันโรค และการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ.
แผนพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมปี ๒๕๕๙
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558 การเตรียมความพร้อม เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558 ในบริบท กรมอนามัย

เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558 กรมอนามัย เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น สร้างเสริมสุขภาพ สิ่งแวดล้อม 1. การสร้างเสริมสุขภาพ เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558 2. พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558

กรอบการนำเสนอ สถานการณ์ด้านส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อมเขต 11 ผลกระทบจากการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน การเตรียมความพร้อมของเขต 11 รองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

ที่มา: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, 2553 สถานการณ์ ด้านส่งเสริมสุขภาพ ที่มา: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, 2553

อัตราส่วนการตายมารดา<15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน กลุ่มทารกในครรภ์และมารดา อัตราต่อแสน ประชากร อัตราส่วนการตายมารดา<15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน สถานการณ์ปี 2558 เขต11 แนวโน้มเขต 29.6 เพิ่มขึ้นจากปี 55 ,56 และ 57 ปี 55 = 4.7 ปี 56 = 27.3 ปี 57 = 15.23

ร้อยละการติดเชื้อ HIV ในหญิงตั้งครรภ์ (ไม่เกิน 0.65) กลุ่มทารกในครรภ์และมารดา ร้อยละการติดเชื้อ HIV ในหญิงตั้งครรภ์ (ไม่เกิน 0.65)

อัตราการคลอดมีชีพในหญิง15-19ปี ไม่เกิน 50 ต่อ ปชก.หญิง15-19 ปี พันคน สถานการณ์ปี 2557 เขต11 ประเทศ แนวโน้มเขต 55.2 51.2 ลดลง ข้อเท็จจริง - เป็นข้อมูลรายงานการคลอดมีชีพจากสถาน บริการสาธารณสุขปี2556 - ข้อมูลรายงานการเฝ้าระวังการแท้งในปท. ปี 2556 โดยกรมอนามัย : ร้อยละ 40.6 มีสถานภาพนักเรียน/ นักศึกษา ร้อยละ29 มีอายุต่ำกว่า 20 ปี ร้อยละ 60.5 อายุต่ำกว่า 25 ปี ร้อยละ 5.4 เป็นผู้ทำแท้งซ้ำที่มีอายุ 15-19 ปี พ.ศ

ร้อยละของเด็กนักเรียนมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน (ไม่เกินร้อยละ 10) สถานการณ์ปี 2558 เขต11 แนวโน้มเขต 9.1 ลดลง ข้อเท็จจริง - เป็นข้อมูลรายงานจากการชั่งน้ำหนัก-วัด ส่วนสูงของครูประถมฯ - ใช้เกณฑ์มาตรฐานภาวะการเจริญเติบโต กรมอนามัยปี 2544 - ข้อมูลการสำรวจโดยกรมอนามัยปี2557 - เด็กอ้วน ร้อยละ 17 - เด็กทีมีส่วนสูงระดับดี และรูปร่าง สมส่วน ร้อยละ 61.3 พ.ศ

อัตราตายด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจ (ลดลงร้อยละ 10)

อัตราตายด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจ (ลดลงร้อยละ 10)

สถานการณ์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม

สถานการณ์ด้านน้ำ คุณภาพน้ำแหล่งน้ำผิวดินและน้ำบาดาลมีคุณภาพเสื่อมโทรมมากขึ้น แหล่งน้ำผิวดิน พบการปนเปื้อนเชื้อแบคทีเรียกลุ่ม Fecal Coliform แหล่งน้ำใต้ดินหรือน้ำบาดาล เกิดการปนเปื้อนสารโลหะหนักบางชนิด

สถานการณ์ด้านน้ำ คุณภาพน้ำประปาส่วนภูมิภาค มากกว่าร้อยละ 80 อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน น้ำจากตู้หยอดเหรียญ และ น้ำบรรจุขวดผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 70

สถานการณ์ด้านมูลฝอยและของเสียอันตราย ที่มา: กรมควบคุมมลพิษ, 2555 ปริมาณมูลฝอยที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ตันต่อวัน พ.ศ. ที่มา: กรมควบคุมมลพิษ, 2555

สถานการณ์ด้านการจัดการสิ่งปฏิกูล การมีและใช้ระบบบำบัดสิ่งปฏิกูลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปี พ.ศ. 2555 ที่มา: กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข, 2556

ผลกระทบ จากการก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

ผลกระทบด้านสุขภาพ โรคติดต่ออุบัติใหม่ และอุบัติซ้ำโรคชายแดน ระบบบริการสุขภาพ บุคลากรด้านการแพทย์และสาธารณสุข ผู้สูงอายุ /ผู้อยู่เขตเมือง Culture & Social

ผลกระทบด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ระบบบริการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม การเดินทางที่ไร้พรมแดน รูปแบบการบริโภคนิยมของประชากร ภาวะภัยพิบัติของภูมิภาคที่มีแนวโน้มสูงขึ้น

การเตรียมความพร้อม เพื่อรองรับประชาคมอาเซียน

การเตรียมความพร้อม ของเขต 11

ประเด็นท้าทายของด้านส่งเสริมสุขภาพ ของเขต 11 วัยเรียน อ้วน ฟันผุ ผู้สูงอายุ โรคเรื้อรัง ฟันใช้เคี้ยวอาหาร การดูแล วัยรุ่น/เจริญพันธ์ -ตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ วัยทำงาน พฤติกรรมสุขภาพ แม่และเด็ก - ลดการตายของมารดาและทารก - ลดการถ่ายทอดเชื้อ HIV จากแม่สู่ลูก - ลด LBW โดยมีมียุทธศาสตร์ในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนเพื่อให้กระทรวงและหน่วยงานต่าง จัดทำแผนปฏิบัติการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ประกอบด้วย 8 ยุทธศาสตร์

แผนงานพัฒนาการสร้างเสริมสุขภาพ เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558 1. การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการเฝ้าระวังด้านส่งเสริมสุขภาพของประชาคมอาเซียน 2. การพัฒนาขีดความสามารถของบุคลากรกรมอนามัย/ภาคีเครือข่าย 3. การพัฒนาขีดความสามารถขององค์กร 4. การพัฒนาความรู้เทคโนโลยีและกลยุทธ์การสร้างเสริมสุขภาพ 5. การพัฒนาองค์ความรู้ ข้อเสนอทางเลือกเชิงนโยบาย และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในประเด็นด้านสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยและปัญหาสำคัญภายใต้กรอบอาเซียน 6. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสร้างการมีส่วนร่วมด้านการส่งเสริมสุขภาพระหว่างประเทศในกลุ่มอาเซียน 7. การพัฒนาแกนนำในการดำเนินงานทางวิชาการและการขับเคลื่อนนโยบายการสร้างเสริมสุขภาพตามประเด็นเฉพาะ

แผนงานพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558 2.1 การพัฒนาระบบข้อมูลและสถานการณ์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของประชาคมอาเซียน 2.1 การพัฒนาต้นแบบด้านการจัดการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืน 2.2 พัฒนาศักยภาพเครือข่ายและอาสาสมัครเฝ้าระวังคุณภาพน้ำบริโภคเพื่อเป็น ต้นแบบในกลุ่มประเทศอาเซียน 2.3 พัฒนาต้นแบบด้านกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพโดยใช้การประเมินผล กระทบต่อสุขภาพ 2.4 การจัดทำหลักสูตรและจัดตั้งศูนย์พัฒนาศักยภาพด้าน HIA ในกลุ่มประเทศอาเซียน