งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แผนพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมปี ๒๕๕๙

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แผนพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมปี ๒๕๕๙"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แผนพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมปี ๒๕๕๙
จังหวัดตราด

2

3

4 สถานการณ์ด้านสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
สถานการณ์ โรคติดต่อในระบบทางเดินอาหารและน้ำ สถานการณ์โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม สถานการณ์การเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม Clean Food Good Taste ส้วม HAS คุณภาพน้ำประปา (คลอรีนอิสระตกค้าง,โคลิฟอร์มแบคทีเรีย) ผลการตรวจสอบเหตุรำคาญ , กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ การดำเนินการตาม พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ.๒๕๓๕

5 สถานการณ์โรคอาหารเป็นพิษจังหวัดตราดเปรียบเทียบประเทศไทยปี2546-2557
อัตราต่อแสนประชากร ที่มา:สำนักระบาดวิทยา อัตราป่วยโรคอาหารเป็นพิษสูงกว่าประเทศไทยทุกปี

6 13 จังหวัดแรกที่มีอัตราป่วยโรคอาหารเป็นพิษสูงในประเทศไทยปี 2557
อัตราต่อแสนประชากร ที่มา:สำนักระบาดวิทยา

7 อัตราป่วยโรคอาหารเป็นพิษ จังหวัดตราดปี 2553-2557 จำแนกรายอำเภอ
อัตราต่อแสนประชากร ที่มา:รง.506 งานระบาดวิทยา

8 อัตราต่อแสนประชากร

9 สัดส่วนผู้ป่วยโรคอาหารเป็นพิษจังหวัดตราด ปี 2557 จำแนกตามอำเภอและเชื้อชาติ
ร้อยละ ที่มา:รง.506 งานระบาดวิทยา

10

11 สถานการณ์โรคอุจจาระร่วงจังหวัดตราดเปรียบเทียบประเทศไทยปี2546-2557
อัตราต่อแสนประชากร ตั้งแต่ปี 2552 อัตราป่วยโรคอุจจาระร่วงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ที่มา:สำนักระบาดวิทยา

12

13 ร้อยละของระบบประปาหมู่บ้านในจังหวัดตราดที่มีคลอรีนอิสระตกค้างตามมาตรฐาน
รายงานไตรมาส 3/2558

14

15 ผลการประเมินสุขาภิบาลในSettingต่างๆ ของจังหวัดตราด ปี2558
ร้อยละ

16 ความปลอดภัยของอาหาร ในแผงลอยจำหน่ายอาหารหน้าโรงเรียน
ร้อยละ ข้อมูล ณ 10 สค.59

17 ผลการสุ่มตรวจด้านแบคทีเรียในงานสุขาภิบาลอาหาร โดยศูนย์อนามัยที่ ๓ ชลบุรี
ร้านอาหาร พบโคลิฟอร์มแบคทีเรีย ภาชนะ ร้อยละ อาหาร ร้อยละ น้ำแข็ง ร้อยละ 50.00 ในตลาดประเภท 1 พบ พบโคลิฟอร์มแบคทีเรีย ภาชนะ ร้อยละ 100 อาหาร ร้อยละ 71.43 มือ ร้อยละ 85.71 ในตลาดประเภท 2 พบ พบโคลิฟอร์มแบคทีเรีย น้ำแข็ง ร้อยละ 80 อาหาร ร้อยละ มือ ร้อยละ 73.33

18 การตรวจสุขลักษณะโรงฆ่าสัตว์
Coliform Bacteria Positive Sallmonella Positive

19

20 ๒๐ อันดับแรกของกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ตาม พ. ร. บ
๒๐ อันดับแรกของกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ตาม พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ.๒๕๓๕ ในจังหวัดตราด ร้อยละ N = ๑,๔๗๗ สำรวจจาก อปท.๒๕ แห่ง

21 สถานการณ์โรคพิษจากสารกำจัดศัตรูพืช
แนวโน้มลดลง/ตราด อยู่อันดับ 3 ของประเทศ

22 ตราด ปี 2556 จำนวน 4 ราย อาชีพ เกษตรกร ข้าราชการ งานบ้าน นักเรียน

23 ผลการเจาะหาสารเคมีในเลือดของเกษตร ปี 2554-2558
ผลการเจาะหาสารเคมีในเลือดของเกษตร ปี ร้อยละ ที่มา : รายงานผลการเจาะเลือดเกษตรกร ปี

24 ผลการเจาะเลือดเกษตรกรที่เสี่ยง ปี 2554-2558 แยกรายอำเภอ
ร้อยละ ที่มา : รายงานผลการเจาะเลือดเกษตรกร ปี

25 การกำจัดขยะมูลฝอยของอปท.ในจังหวัดตราด ปี2558
N= 37

26 ข้อมูลการจัดการขยะมูลฝอย
ข้อมูลขยะมูลฝอย ปริมาณ(ตันต่อวัน) ปริมาณมูลฝอย รวม 155 ปริมาณมูลฝอย ที่เก็บได้ 111 รีไซเคิล 24 มีขยะมูลฝอยตกค้างประมาณ 44 ตันต่อวัน หรือ 16,060 ตันต่อปี ประเภทอปท. มีการจัดเก็บ ร้อยละ ไม่มีการจัดเก็บ เทศบาล 10 90.9 1 9.1 อบต 16 61.5 38.5

27 การควบคุมสัตว์และแมลงนำโรค
ข้อมูลจากฐานHos_xp แหล่งน้ำดื่ม การควบคุมสัตว์และแมลงนำโรค การจัดการขยะ

28 ข้อมูลแหล่งน้ำดื่มจำแนกตามประเภท
อำเภอ 1 - น้ำฝน 2 - น้ำประปา 3 - น้ำบาดาล 4 - บ่อน้ำดื่ม 5 - สระน้ำ แม่น้ำ 6 - น้ำบรรจุเสร็จ 9 - ไม่ทราบ (ว่าง) ผลรวมทั้งหมด เมือง 4584 1929 5 45 47 7018 38 13666 คลองใหญ่ 803 247 1 10 815 1877 เขาสมิง 1584 232 159 897 23 2636 5531 บ่อไร่ 2572 46 6 745 183 3552 แหลมงอบ 1393 783 2 4 742 2925 เกาะกูด 3 7 เกาะช้าง 682 69 20 85 51 549 1456 15 1856 1871 11620 3306 195 1777 135 11958 1894 30885 ที่มา : 43 แฟ้ม สิงหาคม 2558

29 ข้อมูลจากแฟ้ม Village
อำเภอ ร้านอาหาร(ร้าน) แผงลอยจำหน่ายอาหาร(แผง) ร้านขายของชำ(ร้าน) ถังเก็บน้ำฝน(แห่ง) เมืองตราด 35 179 64 คลองใหญ่ 3 37 2 เขาสมิง 10 258 27 บ่อไร่ 23 76 8 แหลมงอบ 17 55 13 1 เกาะกูด 4 เกาะช้าง 32 24 รวมทั้งหมด 123 633 118

30 ข้อมูลจากแฟ้ม Village
อำเภอ ฟาร์มไก่(แห่ง) ฟาร์มสุกร(แห่ง) บ่อกำจัดน้ำเสีย/ที่กำจัดขยะ โรงงานอุตสาหกรรม(แห่ง) ชุมชนต่างด้าว(แห่ง) เมืองตราด 2 1 คลองใหญ่ เขาสมิง บ่อไร่ แหลมงอบ เกาะกูด เกาะช้าง รวมทั้งหมด 3 4

31 5 ก้าว สู่ 59 5 4 1 พัฒนาระบบเฝ้าระวัง สถานการณ์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
5 ก้าว สู่ 59 5 4 1 พัฒนาระบบเฝ้าระวัง สถานการณ์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมและ อาชีวอนามัย พัฒนาการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายและภาคประชาชน ส่งเสริมให้มีการบังคับใช้กฎหมาย พ.ร.บ.การสาธารณสุข ๒๕๓๕ พัฒนาระบบการรับรองพื้นที่ที่มีการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมได้มาตรฐานของจังหวัดตราด

32 พัฒนาระบบเฝ้าระวังและเผยแพร่ สถานการณ์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
วัตถุประสงค์ กิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย จำนวน งบประมาณ ช่วงเวลาดำเนินงาน เพื่อสื่อสารความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกับภาคีเครือข่าย จัดทำรายงานสถานการณ์อนามัยสิ่งแวดล้อม ปีละ ๑ ครั้ง -อปท. -รพ./รพ.สต. -ร้านอาหาร/แผงลอย -ประปาหมู่บ้าน -สถานประกอบการ -เกษตรกร 1 เล่ม (จัดทำเป็นElectronic file) Social media ตุลาคม 2558 เพื่อตรวจวัดคุณภาพอนามัยสิ่งแวดล้อม จัดหาชุดตรวจด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม -ชุดตรวจโคลิฟอร์มในน้ำ -ชุดตรวจโคลิฟอร์มในอาหาร -ชุดตรวจDO -ชุดตรวจPHในน้ำ -ชุดตรวจคลอรีน 50,000 บาท มีนาคม 2559 -เครื่องมือวัดเสียง

33 พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย
อาหาร พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย วัตถุประสงค์ กิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย จำนวน งบประมาณ ช่วงเวลาดำเนินงาน เพื่อพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในกิจการเกี่ยวกับการท่องเที่ยว รับรองมาตรฐานกิจการเกี่ยวกับการท่องเที่ยว โรงแรม รีสอร์ท โฮมสเตย์ ร้านอาหาร 50 -ค่าป้ายรับรอง พ.ย.-ธ.ค. 58 (ประชุมชี้แจง ส.ค.58) เพื่อควบคุมคุณภาพมาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร สุ่มตรวจร้านอาหาร/แผงลอยที่ผ่านเกณฑ์CFGT ร้านอาหาร/แผงลอย ที่ผ่านเกณฑ์ 70 -เบี้ยเลี้ยง -ค่าอาหาร ประชุมสรุป ไตรมาส 2-4 ไตรมาสละ 1 ครั้ง เพื่อบูรณาการอาหารปลอดภัยตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ ประชุมคณะกรรมการ/ทำงานอาหารปลอดภัย คณะกรรมการ/ทำงาน อาหารปลอดภัย เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวด้วยอาหารปลอดภัย พัฒนาถนนอาหารปลอดภัย ตลาดสดไร่รั้ง เพื่อพัฒนาสุขลักษณะของผู้สัมผัสอาหาร จัดทำสติกเกอร์ การล้างมือ ผู้สัมผัสอาหาร/ส้วมสาธารณะ

34 พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย
น้ำ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย วัตถุประสงค์ กิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย จำนวน งบประมาณ ช่วงเวลาดำเนินงาน เพื่อเฝ้าระวังคุณภาพน้ำประปา สนับสนุนการตรวจคลอรีนอิสระตกค้างในน้ำและโคลิฟอร์มแบคทีเรียในน้ำประปา ประปาหมู่บ้าน 180 - ไตรมาส ละ 1 ครั้ง เพื่อพัฒนาระบบการผลิตน้ำประปา ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างประปาหมู่บ้าน ผู้ดูแลประปาหมู่บ้าน 50 7,500 ประสานท้องถิ่นเพื่อสนับสนุนงบประมาณพัฒนาระบบการผลิตและเฝ้าระวังคุณภาพน้ำ อปท.ทุกแห่ง 43 เพื่อรับรองและส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพน้ำประปา จัดทำป้ายรับรองน้ำประปาปลอดภัยจังหวัดตราด ระบบประปาที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานน้ำประปาดิ่มได้ 10 15000 ส.ค.59

35 พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย
ขยะมูลฝอย พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย วัตถุประสงค์ กิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย จำนวน งบประมาณ ช่วงเวลาดำเนินงาน เพื่อพัฒนาระบบการจัดการมูลฝอยติดเชื้อให้เป็นไปตามกฎหมาย นิเทศแนะนำการจัดมูลฝอยติดเชื้อ -รพ./รพ.สต. -คลินิกคน/สัตว์ 73 ปีละ 2 ครั้ง เพื่อส่งเสริมการจัดการขยะอย่างถูกวิธี เพือลดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ส่งเสริมให้มีหมู่บ้านจัดการขยะครบวงจร/จัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อลดโรค รพ./รพ.สต. ละ 1 หมู่บ้านเป็นอย่างน้อย คปสอ.จัดทำแผน

36 พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย
วัตถุประสงค์ กิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย จำนวน งบประมาณ ช่วงเวลาดำเนินงาน เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังสุขภาพเกษตรกร เจาะเลือดหาโคลินเอสเตอเลสเปรียบเทียบผลจากแผ่นตรวจเบื้องต้น 500,000 งบพัฒนาจังหวัด เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้สารเคมีในการเกษตร ถอดบทเรียน -เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และพัฒนางานอาชีวอนามัย -เพื่อพัฒนาคลินิคโรคจากการประกอบอาชีพ ประชุมคณะทำงาน อาชีวอนามัย

37 พัฒนาการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายและภาคประชาชน
วัตถุประสงค์ กิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย จำนวน งบประมาณ ช่วงเวลาดำเนินงาน เพื่อสร้างหลักสูตรสำหรับอบรม อสม.เพื่อให้หน่วยบริการในพื้นที่ไปจัดอบรม -อสม.ใช้ชุดตรวจด้านสิ่งแวดล้อมได้ -มีความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ จัดทำหลักสูตร อสม.อนามัยสิ่งแวดล้อม ผู้แทนจาก จนท.สส. ผู้แทน อสม. ผู้แทน อปท. 30 คน 4,500 บาท 2 ครั้ง พ.ย./ธ.ค.58

38 ส่งเสริมให้มีการบังคับใช้กฎหมาย พ.ร.บ.การสาธารณสุข ๒๕๓๕
วัตถุประสงค์ กิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย จำนวน งบประมาณ ช่วงเวลาดำเนินงาน เพื่อให้จนท.สส/อปท.มีความรู้เรื่องพ.ร.บ.การสาธารณสุข 2535 และสามารถออกข้อบัญญัติได้ ประชุมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร พ.ร.บ.การสาธารณสุข 2535 และจัดทำร่างข้อบัญญัติ -จนท.สส. -จนท.อปท. 100 คน 100,000 บาท มกราคม 2559 เพื่อปฏิบัติตาม พ.ร.บ.สส.2535 จัดทำบัตรประจำตัว จพ.สส. -จนท.สส. เพื่อพัฒนาและศึกษา การปฏิบัติตามพ.ร.บ.สส.2535 พัฒนา อปท.นำร่อง กม.อาหาร -อปท. 1 แห่ง -ผู้ประกอบการร้านอาหาร 30 10,000 บาท ก.พ.-เม.ย.59 เพื่อส่งเสริมการใช้พ.ร.บ.สส.2535 ประชุม อสธจ. -อสธจ. 20 60,000 บาท ปีละ2ครั้ง

39 แนวคิดการรับรอง อำเภออนามัยสิ่งแวดล้อมดี ชีวีปลอดโรค บริโภคปลอดภัย
กิจกรรมตามนโยบาย -EHA -CFGT -สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัยกายใจเป็นสุข -มาตรฐานอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล อำเภอคัดเลือกตามบริบท/ความสนใจ - CFGT -การคัดกรองสารเคมีในเลือดของเกษตรกร - ส้วมHAS ในสถานที่ท่องเที่ยว กิจกรรมตามสภาพปัญหาของจังหวัดตราด -ประปาหมู่บ้าน (คลอรีนอิสระตกค้าง) -การคัดกรองสารเคมีในเลือดของเกษตรกร -ส้วมHAS ในสถานที่ท่องเที่ยว


ดาวน์โหลด ppt แผนพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมปี ๒๕๕๙

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google