Introduction to GNU/Linux

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ซอฟแวร์ SOFTWARE น า ง ส า ว ฐ ิ ติ ม า น า ม ว ง ศ์ เ ล ข ที่ 4 3 ชั้ น ม. 4 / 7.
Advertisements

เป็นการนำความรู้ด้าน Microsoft Excel ที่มีความพิเศษตรงที่สามารถ กำหนดสูตรการคำนวณในแต่ละเซลล์ ของ Sheet งานนั้นๆได้ โดยอาศัย ความแม่นยำในการคีย์ข้อมูลเข้าไป.
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ในเกาหลีใต้ Cyber crime and IT law in South Korea ลักขณา สุทธานุช คณะวิทยาศาสตร์ สาขา.
การพัฒนาระบบทะเบียน ของ โรงเรียนเมโทรเทคโนโลยี จังหวัดเชียงใหม่
การจัดทำเว็บไซต์สำเร็จรูปด้วยโปรแกรม Joomla!
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
งานบริการการศึกษา.
FILE AND DIRECTORIES พื้นฐานลินุกส์ ผู้สอน นายวุฒิชัย คำมีสว่าง.
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
Introduction to GNU/Linux
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Joomla
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
Windows Update settings.  เพื่อช่วยให้ windows ของ pc นั้น มีปลอดภัยยิ่งกว่าเดิม และทำงานได้ราบรื่น และจะได้รับการปรับปรุงความ ปลอดภัย ( Security ) ล่าสุดและแก้
วัตถุประสงค์ 1. แสดงรายการของโปรแกรม ที่และสถานการทำงานของ โปรแกรม 2. แสดงรายการบริการที่มี บน ระบบปฏิบัติการ 3. แสดงกราฟการใช้ ตัว ประมวลผล 4. แสดงกราฟการทำงานการ.
รายชื่อผู้จัดทำ ด.ช.จิณณวัตร ทับจันทร์ เลขที่ 1 ม.1/3 ด.ช.ฐิติพงศ์ โลหะเวช เลขที่ 4 ม.1/3 ด.ช. พงศ์ภัค พุทธรักษ์ เลขที่9 ม.1/3 ด.ช.อริยะ แดงงาม เลขที่
และสร้างเว็บไซต์ประเภทCMS
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
7 เทรนด์ การตลาดออนไลน์ปี 2014 แรงแน่ ! ในปีที่ผ่านมา การเปิดตัวเครือข่าย 3G ในประเทศ ทำให้คำว่า “การตลาดออนไลน์ (Online Marketing)” กันมากขึ้น แล้วในปี
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
Open Source Software กับบทบาทของ สถานศึกษา ธวัชชัย เอี่ยมไพโรจน์ อุปนายกสมาคมโอเพนซอร์สแห่งประเทศ ไทย.
ซอฟต์แวร์ Software รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 3. ความหมายและความสำคัญของซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง ชุดคำสั่งหรือโปรแกรม ที่คอยสั่งการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน.
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
PORTABLE ELECTRONIC DEVICES SECURITY การรักษาความปลอดภัยของข้อมูลในกรณีที่ ใช้อุปกรณ์ที่พกพาได้
วิทยาเขตมีบริการอะไรให้บ้าง การบริการ บัญชีผู้ใช้และรหัสผ่าน สำหรับใช้งาน Internet สามารถ ติดต่อขอ บัญชีผู้ใช้และรหัสผ่าน (Password) ด้วย ตนเอง บัตรประจำตัวพนักงาน.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
Open Source Software. Open Source ซอฟต์แวร์ที่ไม่เก็บค่าลิขสิทธิ์กับผู้ใช้ เปิดเผยต้นฉบับรหัสซอฟต์แวร์ (Source Code) อนุญาตให้แก้ไข ดัดแปลง เผยแพร่ โปรแกรมต้นฉบับ.
INTRODUCE SUBJECT สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจอาจารย์จิรา ภรณ์ เขตกุฎี
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
Adaptive Software Development. วงจรชีวิตของการพัฒนาซอฟแวร์ หรือ Software Development Life Cycle (SDLC) เป็นโครง ร่างหรือแนวทางวิธีการ เพื่อใช้ทำความเข้าใจและเพื่อ.
เรื่อง ภาษาซีเบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
การเชื่อมต่ออุปกรณ์ต่างๆ การเชื่อมต่อเมาส์และ คีย์บอร์ด การเชื่อมต่อจอภาพ 1 2 ช่องเสียบหัวต่อ สายไฟ เข้ากับตัวเครื่อง และสายจอภาพ จอภ าพ คีย์บอ.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
เทคโนโลยีพื้นฐานของระบบสารสนเทศ
Android architecture and iOS architecture
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การใช้งานเครื่องแม่ข่ายเสมือน (Virtual Server-VMWARE) มหาวิทยาลัยสงขลาครินทร์ Server Admin, ISD CC PSU.
การใช้ Social Media เพื่อการสื่อสาร
Integrated Information Technology
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ PHP Introduction to PHP
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
C# Part 0: Introduction to Revision Control
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 12 : การประพันธ์สื่อมัลติมีเดีย (Multimedia Authoring) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
Basic Input Output System
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ Electronic Book System
การบริหารจัดการเว็บไซต์หน่วยงานในสังกัดกรมปศุสัตว์
ระบบบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยงาน Department Research Management System DRMS โดยทีมพัฒนาระบบ DRMS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
เข้าใจตน เข้าใจสาขา นายจิรภัทร ผดุงกิจ.
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
กลุ่มหลักสูตร กลุ่มหลักสูตรที่ 1 : พัฒนาความรู้
คณะทำงานขับเคลื่อนงานโภชนาการ (สูงดีสมส่วน)
ภัยคุกคาม ที่เกิดขึ้นในระบบสารสนเทศ
SMS News Distribute Service
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
4 เทคโนโลยีสารสนเทศ สังคมเครือข่าย
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
เครื่องโทรศัพท์ติดต่อภายใน intercommunication
Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
บทที่ 4 การให้บริการแพลตฟอร์ม Platform as a service(PaaS) 4.1 ความหมาย
Introduction to GNU/Linux
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Introduction to GNU/Linux 030523115 – Special Problems in Computer Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka

Plan Introduction to Linux Installation BASH Client/Host Configuration Data Storage Management User Management Package Management Network Security Network Service Open Source Database (MYSQL) Linux Web Services (Apache) File Sharing Services

เกณฑ์การให้คะแนน เวลาเข้าเรียน 10 คะแนน งานในห้อง 20 คะแนน เวลาเข้าเรียน 10 คะแนน งานในห้อง 20 คะแนน สอบกลางภาค 35 คะแนน สอบปฏิบัติปลายภาค 35 คะแนน เกรด A >= 85 B+ >= 75 B >= 65 C+ >= 55 C >= 50 D+ >= 45 D >= 35

Linux Linux สามารถอ่านออกเสียงได้ 2 แบบ ลีนิกซ์ ออกเสียงแบบคนอเมริกา ลีนุกซ์ ออกเสียงแบบคนแคนนาดาและยุโรป Linux เป็นระบบปฏิบัติการที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับ Unix แต่ฟรี และ Opensource Linux สามารถติดตั้งบนฮาร์ดแวร์ที่หลากหลาย ตั้งแต่ มือถือ (android), tablet PC (android), เครื่องเกม Console (ลงบน PS3 ได้) Mainframe Supercomputer

OS market share

Linux กับ Supercomputer Linux เป็นระบบปฏิบัติที่ใช้กันทั่วไปสำหรับเครื่อง supercomputer โดยเครื่องที่มีประสิทธิภาพ top 500 ของโลก ทั้งหมด 485 (97%), 1 เครื่องที่ใช้ windows

Tianhe-2 จำนวน CPU ทั้งหมด Compute blade 4 Intel Xeon E5-2692 6 Intel Xeon Phi 31S1P RAM: 128 GB Compute Frames 1 Frame บรรจุ 16 Compute blades Rack 1 Rack บรรจุ 4 Compute Frames Tianhe-2 มี rack ประมวลผล 125 racks Xeon E5-2692 (12 cores) Xeon Phi 31S1P (57 cores) จำนวน CPU ทั้งหมด Intel Xeon = 4 * 16 * 4 * 125 = 32000 CPUs Xeon Phis = 6 * 16 * 4 * 125 = 48000 CPUs Memory = 128 * 16 * 4 * 125 = 1,024,000 GB ประมวลผล 125 racks จำนวน rack 125 compute, 12 communication, 24 storage = 162 racks

Multics ในปี 1960 MIT (Massachusetts Institute of Technology) AT&T Bell Labs General Electric ได้ร่วมมือกันพัฒนาระบบปฎิบัติการชื่อว่า Multics (Multiplexed Information and Computing Service) ซึ่งเป็นระบบปฎิบัติการแบบ time-sharing แต่เนื่องจากเป็นระบบที่ซับซ้อนและมีขนาดใหญ่ และการจัดการโครงการไปเป็นอย่างช้า มาก ระบบที่ได้ทำงานช้าและไม่มีประสิทธิภาพ ทำให้นักวิจัย 4 คนออกจากโครงการนี้และมาทำระบบปฎิบัติการใหม่เอง โดยเน้นระบบ ขนาดเล็ก และตั้งชื่อระบบปฎิบัติการใหม่ล้อชื่อเดิมของ Multics คือ Unics (Uniplexed Information and Computing Service) ต่อมาเขียนสั้นลง คือ UNIX

UNIX Unix ถูกพัฒนาขึ้นในปี 1969 ที่ AT&T’s Bell Lab โดย มีการใช้งานครั้งแรกในปี 1971, Unix ถูกเขียนด้วยภาษา assembly ใข้งานบนเครื่อง PDP-11/20 ในปี 1973, Dennis ได้แก้ไข Unix ใหม่เกือบทั้งหมดด้วย ภาษาซี (1972, Dennis สร้างภาษาซีขึ้นมา ก็เพื่อ Unix โดยเฉพาะ) Ken Thompson ผู้พัฒนาภาษา B ผู้ร่วมสร้างภาษา Go ของ Google Dennis Ritchie ผู้พัฒนาภาษา C Douglas McIlroy ผู้พัฒนา Unix Pipeline Joe Ossanna ผู้ริเริ่มพัฒนา Troff

GNU ในปี 1983 นาย Richard Stallman ได้ริเริ่มโครงการ GNU ย่อมาจาก (GNU is Not Unix) เป้าหมายคือต้องการพัฒนาระบบปฎิบัติการที่ทำงานได้ เหมือน UNIX แต่ฟรี แต่ GNU ได้เริ่มต้นจากพัฒนา application ต่างๆ ที่ทำงานบน UNIX ได้เหมือน application ต้นแบบ (Compiler, text editor, UNIX shell) ในปี 1990, application ต่างๆสามารถทำงานและใช้งานได้อย่างสมบูรณ์ แต่ device drivers, daemons และ kernel ยังไม่สมบูรณ์และไม่มี คนพัฒนาต่อ (GNU/hurd project)

MINIX MINIX(Minimal Unix) ถูกเขียนขึ้นโดย Andrew Tanenbaum ถูกใช้ในการสถาบันการศึกษาเพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับระบบปฎิบัติการ ถูกเผยแพร่ครั้งแรกในปี 1987 พร้อมทั้ง source code ที่สมบูรณ์ ซึ่งจะ ฟรีถ้าใช้สำหรับการศึกษา แต่ไม่ฟรีถ้าใช้ในด้านธุรกิจ Andrew S. Tanenbaum ได้พัฒนา MINIX ขึ้นในมหาวิทยาลัย Vrije, Amsterdam. เพื่อใช้คู่กับหนังสือที่เขาเขียนคือ Operating System: Design and Implementation

ถ้า GNU ทำ Kernel เสร็จก่อน 1990 ผมก็คงไม่พัฒนา Linux หรอก!! GNU/Linux ในปี 1991, Linus Torvalds ได้เรียนรู้ระบบปฎิบัติการ MINIX จาก หนังสือของ Tanenbaum และมีความสนใจเป็นพิเศษ จึงได้คิดจะพัฒนาระบบปฎิบัติการขึ้นมาเองโดยได้แรงบันดาลใจมาจาก MINIX Torvalds ได้เริ่มต้นแก้ไขโค้ดของ MINIX และสร้าง Linux Kernel Application ต่างๆ ของ MINIX ได้ถูกแทนที่ด้วย Application ของ GNU ถ้า GNU ทำ Kernel เสร็จก่อน 1990 ผมก็คงไม่พัฒนา Linux หรอก!!

Linux Distributions (Linux Distro)

ประเภทของ Linux Consumer Grade Enterprise Grade เน้นการใช้งานกับผู้ใช้ทั่วไป มีการ update ซอฟต์แวร์ version ใหม่ๆ บ่อยครั้ง ไม่เหมาะกับเครื่องเซิฟเวอร์เนื่องจากการ update อาจทำให้มีช่องโหว่ใหม่ๆ ตลอดเวลา ตัวอย่างของ Consumer-Grade Linux คือ Fedora, Ubuntu, OpenSUSE, Gentoo Enterprise Grade เน้นกับการใช้งานระดับองค์กร มีการปรับปรุงซอฟต์แวร์เก่าๆ แม้ว่าจะผ่านมานานแล้ว ตัวอย่าง เช่น CentOS, RHEL, SUSE enterprise, Ubuntu TLS

Enterprise Linux (1) คุณสมบัติของ Enterprise Linux Extended support ปกติแล้วซอฟต์แวร์ open source จะมีการ support ที่สั้น ตัวอย่าง Fedora หลังจาก 2 ปีแล้วจะหยุดการ support ทันที สำหรับ Enterprise Linux ผู้ผลิตจะให้การ support ที่ยาวนานมากขึ้น Low-Risk Security update ปกติการ update จะเป็นการปิดช่องโหว่ของ application เก่าๆ แทนที่จะเปลี่ยน version ของ application การ update ส่วนใหญ่ของ EL จะไม่จำเป็นต้อง reboot เครื่อง ABI/API stability Application Binary Interface(ABI), Application Programming Interface(API) จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงทำให้ 3-rd party สามารถเขียนโปรแกรมบน ระบบได้ง่าย

Enterprise Linux (2) คุณสมบัติของ Enterprise Linux ต่อ Regular update and bug fixes มีระยะเวลาที่แน่นอนในการ update และ patch เพื่อแก้ไข bug ทำให้องค์กร สามารถวางแผนการ update ระบบได้ Certificates EL จะได้รับการ certificate ในการติดตั้งลงมาพร้อมกับเครื่องเซิฟเวอร์ เพื่อรองรับ การทำงานของอุปกรณ์ในเครื่องเซิฟเวอร์ได้อย่างสมบูรณ์แบบABI/API stability

CentOS ย่อมาจาก Community ENTerprise Operation System ฟรี Open source นำเอา source code ของ Red hat enterprise มาใช้งาน http://www.centos.org

CentOS และ RHEL Red Hat Enterprise Linux (RHEL) ถึงแม้ว่า CentOS จะนำเอา source code ของ RHEL มาใช้แต่ก็มีข้อแตกต่างกัน RHEL จะต้องเสียค่า license รายปี CentOS รองรับการทำงานได้เหมือน RHEL แต่ฟรี การ update ของ CentOS จะช้ากว่า RHEL เนื่องจากต้องรอให้ RHEL update ก่อนแล้ว ค่อยนำ source code มาปรับปรุงสำหรับ CentOS Certificate ของ RHEL เป็นที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย