สังคมวิทยาอุตสาหกรรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
Advertisements

นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
สิทธิในการเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางปกครอง
การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานขาย
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
แนวทางการสอน เพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบการสอน
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
บทที่ 6 การจัดการองค์การ.
เทคนิคการตรวจสอบภายใน
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
กรณีศึกษาของเยาวชนที่กระทำความผิดคดีฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา : สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดสระบุรี ผู้วิจัย โยธิน จารุจุฑารัตน์ หลักสูตร ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต.
การฝึกปฏิบัติการตรวจประเมิน รายงานการประเมินตนเองของสหกรณ์
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
สังคมและการเมือง : Social and Politics
นักปรัชญาวิทยาศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 การศึกษาชีววิทยา
Seminar 1-3.
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Scene Design and Lighting Week1-3
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ขีดความสามารถในการรองรับได้ของแหล่งท่องเที่ยว
กลุ่มเกษตรกร.
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
การวิเคราะห์องค์กร รู้จักตนเอง
องค์การและการจัดการ Organization and Management
จัดทำโดย นาย วรปรัชญ์ ชาวเมือง เลขที่ 8 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4.3
SMS News Distribute Service
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
Law as Social Engineering
มาฝึกสมองกันครับ.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
Legal Culture วัฒนธรรมทางกฎหมาย
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
โครงการ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน
การบริหารจัดการ เชิงสถานการณ์ (Situaional Management)
นโยบายของรัฐด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม สมุดปกขาว BCG in Action การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศไทย เพื่อเศรษฐกิจชีวภาพ.
การบริหารจัดการ เชิงสถานการณ์ (Situaional Management)
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
ความหมาย และ คำจำกัดความของคำว่า “ รัฐประศาสนศาสตร์ “
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สังคมวิทยาอุตสาหกรรม Industrial Sociology 6 : 2 มี.ค. 58

ความหมายของวิชาสังคมวิทยา สังคมวิทยา (Sociology) August Comte (1798-1853) “บิดาแห่งสังคมวิทยา” เป็นผู้เริ่มบัญญัติศัพท์ รากศัพท์ Socius = การติดต่อคบหาสมาคม Logos = คำพูด ถ้อยคำ

ความหมายของวิชาสังคมวิทยา Auguste Comte สังคมวิทยาเป็นวิชาที่ศึกษาสังคม โดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ในการศึกษา แบ่งออกเป็น 2 ส่วน - สังคมสถิต (Social Statics) เกี่ยวกับโครงสร้างสังคม (สถาบัน และความสัมพันธ์ของสถาบันต่างๆ) - สังคมพลวัต (Social Dynamics) เกี่ยวกับวิวัฒนาการและภาวะ การเปลี่ยนแปลงทางสังคม

ความหมายของวิชาสังคมวิทยา Max Weber สังคมวิทยามุ่งศึกษาเพื่อกำหนดแบบแนวความคิดต่างๆ และหา หลักเกณฑ์ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งที่ปรากฏที่เป็นแบบเดียวกันของกระบวน การที่เกิดขึ้นตามสภาพความ เป็นจริง Emile Durkheim สังคมวิทยาเป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องเกี่ยวกับสถาบันต่างๆ ในสังคม

ความหมายของวิชาสังคมวิทยา Kocinig : รวบรวมนิยามเกี่ยวกับวิชาสังคมวิทยา เช่น - สังคมวิทยา คือ ศาสตร์แห่งปรากฏการณ์ทางสังคม (Social Phenomena) : Giddings - สังคมวิทยา คือ ศาสตร์ที่ว่าด้วยการจัดระเบียบ/องค์การทางสังคมและความเปลี่ยนแปลงทางสังคม : Kovalevsky - สังคมวิทยา คือ ศาสตร์ที่ศึกษาถึงสัมพันธ์ภาพของมนุษย์ : Simmel - สังคมวิทยา คือ ศาสตร์แห่งพฤติกรรมกลุ่มชน (Collective behavior) : Park

ความหมายของวิชาสังคมวิทยา Sorokin สังคมวิทยาเป็นการศึกษาสังคม โครงสร้างหน้าที่และขบวนการต่างๆ ของสังคมด้วยวิธีวิทยาศาสตร์ Dictionary of Modern Sociology สังคมวิทยาเป็นวิชาการแขนงหนึ่งที่ทำการศึกษาระบบเดียวกัน ความสัมพันธ์ทางสังคมของมนุษย์ โดยทั่วไปและผลที่เกิดขึ้นจากความสัมพันธ์

ขอบเขตการศึกษาวิชาสังคมวิทยา August Comte วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับสังคมมนุษย์ โดยมุ่งการใช้ระเบียบวิธีทาง วิทยาศาสตร์ “Positive Philosophy” + เน้นธรรมชาติของระบบทางสังคมของมนุษย์ว่า ต้องประกอบด้วย - โครงสร้างสังคม (Social Statics) - กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสังคม (Social Dynamics)

ขอบเขตการศึกษาวิชาสังคมวิทยา 1. เป็นวิทยาศาสตร์สังคมไม่ใช่วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ เนื้อหาอธิบายสิ่งที่ เกิดขึ้นถึงเหตุผล ไม่ใช่ ควรจะเป็นอย่างนั้นหรือน่าจะเป็นอย่างนี้ 2. เป็นศาสตร์ที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อเสาะแสวงหาความรู้อันเกี่ยวกับสังคม มนุษย์ไม่ใช่เพื่อนำความรู้มาประยุกต์ใช้กับสังคมมนุษย์โดยตรง ทันที 3. เป็นนามธรรมไม่ใช่เป็นรูปธรรม เช่น ประวัติศาสตร์ จะศึกษา : สงครามโลกครั้งที่ 2 แต่สังคมวิทยาสนใจสงครามและปฏิวัติทั่วไป

ขอบเขตการศึกษาวิชาสังคมวิทยา 4. เป็นวิทยาศาสตร์สังคมทั่วไปไม่ใช่รายละเอียดเฉพาะอย่าง โดยให้ ความรู้อันเป็นกฎหรือหลักทั่วๆ ไปว่าด้วยการปฏิบัติต่อกันของมนุษย์ 5. เป็นการพิจารณาโครงสร้างสังคม ความสัมพันธ์ทาง สังคม และการ จัดระเบียบทางสังคมเพื่อเกิดความเข้าใจปรากฏการณ์ไม่ใช่เพื่อการ ควบคุมหรือการเปลี่ยนแปลงสังคม

ขอบเขตการศึกษาวิชาสังคมวิทยา Herbert Spencer การศึกษาเรื่องราวความสัมพันธ์ระหว่างส่วนต่างๆ ของสังคมอิทธิพลที่สถาบันต่างๆ มีต่อกันและต่อสังคม Emile Duakheim การศึกษา สถาบันและกระบวนการทางสังคมในแนวกว้างๆโดยทั่วๆ ไป Max Weber การเน้นที่ความเข้าใจ พฤติกรรมทางสังคมมนุษย์ ในแง่ของการกระทำทางสังคม (Social action)

สรุป สังคมวิทยา - เป็นวิชาที่ศึกษาถึงการรวมกลุ่มในรูปแบบต่างๆ ของมนุษย์ในสังคม - ศึกษา ความสัมพันธ์และอิทธิพลที่มีต่อกันในระหว่างสถาบันต่างๆ

วิทยาศาสตร์สังคมต่างกับวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ หน่วยในการศึกษาวิเคราะห์ - มุ่งที่จะศึกษาความสัมพันธ์ของ มนุษย์ในฐานะที่มนุษย์จะอยู่ ร่วมกันเป็นกลุ่มหรือเป็นสังคม - เน้นที่จะศึกษาหน่วยหรือ ปรากฎการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นหรือมีอยู่โดยธรรมชาติ กระบวนวิธีการศึกษา - ใช้การศึกษาแบบคุณภาพ (Qualitative approach) - ใช้เครื่องมือในการศึกษาแบบ ปริมาณ (Quantitative approach) บทบาทค่านิยมกระบวนการศึกษา - นักวิทยาศาสตร์สังคมมีโอกาสที่ จะมีอคติในการศึกษาได้ง่ายกว่า - ความรู้สึกผูกพันกับหน่วยในการ ศึกษาน้อยกว่านักวิทยาศาสตร์ สังคม

สังคมวิทยาอุตสาหกรรม สังคมวิทยาการทำงาน (Sociology of Work) สังคมวิทยาองค์กร (Organization Sociology) การทำงานและอาชีพ (Work and Occupations) เศรษฐศาสตร์ & ธุรกิจ สังคมวิทยา

เริ่ม - ผู้ที่มีสถานภาพต่ำเกี่ยวกับลักษณะการทำ พัฒนาการสังตมวิทยาอุตสาหกรรม 1. ระยะแรก : ปี 1920 มหาวิทยาลัยชิคาโกศึกษาเกี่ยวกับอาชีพ (Occupations) เริ่ม - ผู้ที่มีสถานภาพต่ำเกี่ยวกับลักษณะการทำ มาหากิน และความเป็นอยู่ ได้แก่ โสเภณี ฉกชิงวิ่งราว นางระบำสถานเริงรมณ์ ฯลฯ ต่อมา - ผู้ที่มีอาชีพอื่นๆ เช่น ครู พนักงานขาย นักวิทยาศาสตร์ บริการและอื่นๆ

“Howthorne Studies” ปี 1927 โดย Elton Mayo และคณะ Western Electic Company ติดต่อ Elton Mayo ให้ ศึกษาเพื่อปรับปรุงสภาพการทำงานของคนงาน : เศรษฐกิจสหรัฐถดถอยอย่างมาก : ต้องการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของคนงาน - นักวิทยาศาสตร์ทดลองการใช้เวลากับการทำงาน สมมติฐาน เงิน คือ แรงจูงใจในการทำงาน

“Elton Mayo และคณะ” พบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อ ผลิตภาพ (Productivity) คนงาน คือ สภาพแวดล้อมทางสังคม (Social environment) ได้แก่ - การรวมกลุ่มของคนงาน - การได้รับการปฎิบัติจากฝ่ายจัดการ ภายหลัง : งานการศึกษาคนงาน และสถานที่ทำงานขยาย กว้างขวางตั้งแต่คนงานร้านเครื่องจักร-คนงาน โรงงานผลิตรถยนต์ : เป้าหมาย คนงาน หัวหน้างาน จนถึงผู้บริหาร

การจัดการแรงงาน มีผู้สนใจทำการศึกษามากยิ่งขึ้น - เพื่อช่วยให้คนงานปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม - เพื่อลดปัญหาของคนงานและเพิ่มประสิทธิภาพ “สังคมวิทยาของการจัดการ” (Managerial Sociology) โดยโจมตีว่า ไม่เหมาะสมทางสังคมศาสตร์ - เข้าไปสนับสนุนธุรกิจ - สนใจระดับจุลภาคหรือบุคคลเกินไป ละเลยระดับ มหภาค Robert Guest และ Charles R. Walker “ The Man on the Assembly Line”

2. ระยะกลาง : ปี 1960 บางส่วนนักสังคมวิทยาเปิดประเด็น การศึกษาใหม่ : - องค์กรอุตสาหกรรม : ฐานะเป็นหน่วยทางสังคม - หน่วยงานรัฐบาล - หน่วยงานการศึกษา บางส่วนสนใจคนงาน แต่ปรับเปลี่ยนในแง่ค่าจ้าง เช่น - ความแตกต่างของค่าจ้าง - ค่าจ้างไม่เป็นธรรม ระยะนี้ แบ่งเป็น 2.1 อาชีพและผู้ประกอบอาชีพ (Occupations and Professions) 2.2 การวิเคราะห์องค์กร (Organizational Analysis)

ระยะกลาง นักสังคมวิทยาเปลี่ยนแปลงความสนใจใหม่ ระยะกลาง นักสังคมวิทยาเปลี่ยนแปลงความสนใจใหม่ เพราะไม่ต้องการถูกวิจารณ์ว่า - เป็นสังคมวิทยาการจัดการ - เป็นฝ่ายนายทุนและต่อต้านคนงาน ประกอบกับเกิดการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรม ต่อต้านธุรกิจและอุตสาหกรรม ทำให้สนใจการศึกษาระดับ มหภาคมากขึ้น : ปัญหาข้อขัดแย้งคนงานเป็นผลจากโครงสร้างระบบ อุตสาหกรรม มากกว่า ฐานะปัจเจกบุคคลที่ทำหน้าที่ในระบบ อุตสาหกรรม : เน้นจัดระเบียบองค์กรและโครงสร้างอุตสาหกรรม

3. ระยะปลาย : ปี 1970 นักสังคมวิทยาอุตสาหกรรมเสนอ การวิเคราะห์ 2 แนวทาง : - การวิเคราะห์การทำงานตามแนวทาง Marxist ให้ ความสำคัญกับประเด็นสังคม - การวิเคราะห์การทำงานตามแนวทาง Economic ให้ มากกว่าความหมายทางสังคม 3.1 การวิเคราะห์การทำงานตามแนวทาง Marxist โดย ผลงานสำคัญ Harry Braverman 1974 “Labor and Monopoly Capital : the Degradation of Work in the Twentieth Century” มีข้อเสนอ :

1. ลัทธิทุนนิยมลดทักษะการทำงานลง แต่เพิ่มความ พยายามควบคุม 2. การเปลี่ยนแปลงจัดระเบียบแรงงาน ทำให้ชนชั้น แรงงานมีลักษณะเหมือนกันในสังคมอุตสาหกรรมทุกแห่ง 3.2 การวิเคราะห์การทำงานตามแนวทางของ Economic โดยเสนอมุมมองคนงานในฐานะ economic beings มากกว่า social beings : ศึกษาประเภทงานที่คนชอบ กำหนดค่าจ้างแรงงาน

4. สังคมวิทยาอุตสาหกรรมในปัจจุบัน : เสนอการศึกษา 4. สังคมวิทยาอุตสาหกรรมในปัจจุบัน : เสนอการศึกษา การวิเคราะห์ 3 ระดับ (Scale of Study) 4.1 ระดับจุลภาค (Micro Level) : การศึกษาตามแนวทางแรกๆ ที่นิยมศึกษาชีวิตการ ทำงานของคนงานตั้งแต่ขนาดเล็ก-ใหญ่ ได้แก่ - Stewart Perry (1978) : ชีวิตการทำงานคนเก็บ ขยะนครซานฟรานซิสโก - Michael Buroway (1978) : กลไกที่คนงานใช้ใน การควบคุมและกำกับความพยายามทำงานด้วยกันเอง

- Jack Haas (1977) : วิธีการจัดการความกลัวความ สูงของคนงานเหล็กกล้าที่ทำงานตึกสูง 21 ชั้น - Jackie Boles : ศึกษาผู้หญิงอาชีพเปลื้องผ้าในนคร แอตแลนต้า Ex วิธีการเข้าสู่อาชีพ การพัฒนาทักษะความ ยากลำบากให้ผู้ชมประทับใจ ความก้าวหน้าและมั่นคงใน อาชีพ งานการศึกษาทั้งหมดช่วยในการเข้าใจชีวิตคนงาน กลุ่มต่างๆ สภาพการทำงานและความอยู่

4.2 ระดับกลาง (Middle Level) : การศึกษา/วิเคราะห์บริบท (Context) ของอาชีพนั้น เกิดขึ้นและดำเนินอยู่ เป็นการศึกษาองค์กร (Organization) ของอาชีพนั้นๆ การจัดระเบียบอาชีพที่แน่นอนและชัดเจน เช่น - แพทย์สภา - สมาคมทนายความ - สมาคมวิศวกรรมสถาน

: การแข่งขันระหว่างประเทศมากขึ้นในแง่การ 4.3 ระดับมหภาค (Macro Level) : จำแนกเป็น 2 แนวทาง 1) การศึกษา/วิเคราะห์เปรียบเทียบระหว่างสังคม เป็นที่นิยมทั่วไป เพราะ : การแข่งขันระหว่างประเทศมากขึ้นในแง่การ พัฒนาประเทศให้เป็น “ประเทศอุตสาหกรรมใหม่” (Newly Industrial Countries, NICs) : - 4 เสือแห่งเอเชีย [ฮ่องกง เกาหลีใต้ ไต้หวัน และสิงคโปร์] - การตลาดสินค้าต่างๆ

เปลี่ยนแปลงทางสังคม ? เทียบกับประเทศอุตสาหกรรม : ประเทศที่กำลังเร่งพัฒนาเป็น NICs จะมีการ เปลี่ยนแปลงทางสังคม ? เทียบกับประเทศอุตสาหกรรม พัฒนาแล้วทางตะวันตก จะเหมือน/แตกต่างกัน ? : ประเทศต่างๆ ทั้งพัฒนา กำลังพัฒนา และ ด้อยพัฒนาที่มีการติดต่อกันย่อมเกิดการเปลี่ยนแปลง 2) การศึกษา/วิเคราะห์พัฒนาการทางวัฒนธรรม ของสังคมใดสังคมหนึ่ง มักเน้นมานุษยวิทยา จึงไม่ค่อยเป็น ที่นิยมมากนัก : การวิเคราะห์วัฒนธรรมแต่ละสังคมเพื่อใช้ใน การพัฒนา

สรุปแนวทางการศึกษา ส่วนใหญ่นักสังคมวิทยาอุตสาหกรรมยอมรับว่า ในการ อธิบายโลกการทำงาน จำเป็นต้องศึกษา 3 ระดับ เพราะ : 1. ขอบเขตการศึกษาแตกต่างกัน 2. การวิเคราะห์ควรสามารถผันแปรกันทั้ง 3 ระดับ

ประวัติและแนวคิดทางสังคมวิทยา แนวความคิดทางสังคม ความนึกคิดทุกด้านของมนุษย์ที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ ระหว่างมนุษย์ รวมทั้งความคิดในการที่จะต้องเชื่อฟังและ พึ่งพาอาศัยกันและกันเพื่อความเป็นระเบียบและอยู่รอดของ มนุษย์ในสังคม

แนวความคิดทางสังคม August Comte ผู้ใช้วิธีการวิทยาศาสตร์ Positive Philosophy ในการศึกษาประกอบด้วย : 1. สังเกตุ (Observation) 2. การทดลอง (Experiment) 3. การเปรียบเทียบ (Comparison) 4. วิธีทางประวัติศาสตร์ (Historical Method)

ศึกษา กฎระเบียบและบรรทัดฐานในการประพฤติ ปฏิบัติของสมาชิกภายในสังคม วิธีการศึกษาสังคมวิทยาแบ่งเป็น 2 ส่วน 1. สังคมสถิตย์ (Social Static) ศึกษา กฎระเบียบและบรรทัดฐานในการประพฤติ ปฏิบัติของสมาชิกภายในสังคม 2. สังคมพลวัต (Social Dynamic) ศึกษาการเคลื่อนไหวสืบต่อเนื่องกัน และศึกษาสังคมในส่วนของความก้าวหน้าการเปลี่ยนแปลง

การซับซ้อนน้อยสู่ความซับซ้อนมาก วิวัฒนาการสังคมจาก : การซับซ้อนน้อยสู่ความซับซ้อนมาก คือ ขั้นเทววิทยา ขั้นปรัชญา ขั้นวิทยาศาสตร์

Herbert Spencer ประกอบด้วย ส่วนต่างๆ ที่พึ่งพาอาศัยกันและกัน สังคมเป็นเหมือนอินทรีย์ที่มีชีวิตอย่างหนึ่ง ภายในสังคม ประกอบด้วย ส่วนต่างๆ ที่พึ่งพาอาศัยกันและกัน การเปรียบเทียบระหว่างอินทรีย์กับสังคม “ระบบสังคมมีการเปลี่ยนแปลงสังคมเหมือนระบบชีววิทยา” 1. รูปแบบที่เรียบง่ายสู่รูปแบบที่ซับซ้อน 2. มีการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน 3. มีศูนย์กลางควบคุม 4. มีการสืบต่อเนื่องกัน 5. มีโครงสร้างของหน่วยย่อย

“สังคมมีความขัดแย้งและต้องมีการเปลี่ยนแปลง” เน้น Karl Marx “สังคมมีความขัดแย้งและต้องมีการเปลี่ยนแปลง” เน้น 1. เศรษฐกิจเป็นพื้นฐานในการกำหนดโครงสร้างและพัฒนาสังคม 2. กลไกการเปลี่ยนแปลงสังคมมีชนชั้น 2 ชั้น 2.1 นายทุน 2.2 กรรมาชีพ โครงสร้างทางสังคม = ความนึกคิดและความสำนึก โครงสร้างเบื้องต้นของมนุษย์ประกอบด้วย : ประเพณี กฎหมาย และการเมือง

“การค้นหาความหมายในการแสดงพฤติกรรมของมนุษย์” (Social Action) Max Weber “การค้นหาความหมายในการแสดงพฤติกรรมของมนุษย์” (Social Action) เน้น ศึกษาความสัมพันธ์ทางสังคมโดยพิจารณาที่ตัวบุคคล เรื่องการกระทำ (Action) เกิดจากการอบรมทางสังคมใน แต่ละสังคม

พยายามเข้าใจการกระทำของบุคคล โดยการค้นหา วิธีการศึกษาสังคมวิทยา 1. ความเข้าใจการกระทำ Verstehen (Understanding) พยายามเข้าใจการกระทำของบุคคล โดยการค้นหา ความหมายที่บุคคลแสดงพฤติกรรมต่อตนเองและผู้อื่น 2. การใช้แบบในอุดมคติ (Ideal Types)

2.1 การกระทำซึ่งขึ้นอยู่กับเหตุผล การกระทำที่มีเป้าหมาย (goal) และวิธีการสู่ เป้าหมาย (means) 2.2 การกระทำในแบบใช้ค่านิยม วิธีการสู่เป้าหมาย เป็นการใช้ค่านิยม 2.3 การกระทำแบบใช้อารมณ์ ไม่มีวิธีการและไม่มีเป้าหมายขึ้นอยู่กับอารมณ์ ผู้แสดง 2.4 การกระทำตามแบบขนบธรรมเนียมประเพณี

Georg Simmel ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล (Individual) กับสังคม (Society) สังคมเกิดขึ้นโดยความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลเกี่ยวกับการกระทำระหว่างสังคม (Social Interaction) Emile Durkheim สังคมในฐานะเป็นหน่วยรวมที่ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กันของสถาบันต่างๆ เน้น : ศึกษาความจริงทางสังคม (Social Fact) ด้วยวิธีการ เปรียบเทียบการฆ่าตัวตาย (Suicide) ของแต่ละ สังคม

ทฤษฎีทางสังคม คำอธิบาย : คน และความสัมพันธ์ระหว่างคนตามหลักเหตุผล ความสัมพันธ์ระหว่างส่วนต่างๆ ของคน ระหว่างคน ต่อคน คนต่อกลุ่มคน กลุ่มคนต่อกลุ่มคน คนต่อ สภาพแวดล้อมอย่างมีระบบจนสามารถพยากรณ์ได้

ประเภทของทฤษฎีสังคม 1. สังคมวิทยามหภาค (Marco Level) - ทฤษฎีโครงสร้างหน้าที่ - ทฤษฎีความขัดแย้ง 2. สังคมวิทยาจุลภาค (Micro Level) - ทฤษฎีการกระทำตอบโต้

ทฤษฎีโครงสร้างหน้าที่ (Structural Functionalism) : Spencer และ Durkheim 1. สังคมมนุษย์มีลักษณะเป็นระบบ (System) 2. ระบบประกอบด้วยส่วนต่างๆ สัมพันธ์กันและกัน 3. เมื่อความขัดแย้งเกิดขึ้น หน่วยย่อยต่างๆ ไม่สามารถ ทำหน้าที่ได้ถูกต้อง จะทำให้เกิดความไม่สมดุลของสังคม และ หน่วยย่อยอื่นๆ ต้องเปลี่ยนแปลง (หน้าที่) เพื่อสร้างความ สมดุลขึ้นใหม่

1. ความสัมพันธ์ทางสังคมเป็นระบบที่เต็มไปด้วยผลประโยชน์ขัดกัน ทฤษฎีความขัดแย้ง (Conflict Theory) : Karl Marx 1. ความสัมพันธ์ทางสังคมเป็นระบบที่เต็มไปด้วยผลประโยชน์ขัดกัน 2. ความขัดแย้งจึงเป็นลักษณะหนึ่งและหลีกเลี่ยงไม่ได้ในระบบสังคม 3. ความขัดแย้งมักอยู่ในรูปของปฏิปักษ์ผลประโยชน์ระหว่างสองฝ่าย 4. ความขัดแย้งเกี่ยวกับการจัดสรรสิ่งที่มีจำกัด 5. ความขัดแย้งเป็นที่มาการเปลี่ยนแปลงในระบบสังคม

เน้นการวิเคราะห์สังคมโดยพิจารณา : ทฤษฎีการกระทำตอบโต้ (Interaction Theory) เน้นการวิเคราะห์สังคมโดยพิจารณา : “การกระทำของบุคคล และการกระทำตอบโต้กัน ระหว่างบุคคล” “สมาชิกแต่ละคนเป็นปรากฏการณ์ที่ทำให้เกิดสังคม และทำให้สังคมเปลี่ยนแปลง”