งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Law as Social Engineering

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Law as Social Engineering"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Law as Social Engineering
Roscoe Pound Law as Social Engineering

2 Law as Social Engineering
Roscoe Pound ( ) Harvard Law School สืบทอดแนวคิดของ Oliver Wendell Holms Jr. Natural Law เป็นพื้นฐานของ Common Law “Legal Tradition” ผู้พิพากษาเป็นผู้วางหลักการทางกฎหมายเพื่อเปลี่ยนแปลงสังคม Mechanical Jurisprudence vs. Sociological Jurisprudence Law as Social Engineering

3 Mechanical Jurisprudence
ตัวอย่างของแนวคิดทางกฎหมายที่เชื่อว่าการปฏิรูปการเมืองไทยสามารถทำได้โดยการกำหนดกลไกทางกฎหมายในรัฐธรรมนูญ 2540 เช่น การสร้างระบบการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ การสร้างกลไกในการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน การสร้างกลไกในการคุ้มครองรัฐธรรมนูญ ในทางสังคม กระบวนการร่างรัฐธรรมนูญมีการรับฟังความคิดเห็นจากประชาชน มีตัวแทนจากด้านต่างๆ พยายามผลักดันประเด็นของตนเข้าสู่รัฐธรรมนูญ เช่น สิทธิเด็ก สตรี แรงงาน ชุมชน คนพิการ สุขภาพ สิ่งแวดล้อม Law as Social Engineering

4 Law as Social Engineering
การที่ศาลตัดสินคดีอยู่บนพื้นฐานของตรรกะของแนวคำพิพากษาเพียงอย่างเดียว โดยไม่ได้คำนึงถึงแต่ผลที่ตามมา สร้างความรุนแรงและสิ่งที่ไม่พึงปรารถนาในสังคม ผู้พิพากษาควรจะตัดสินคดีโดยการปรับใช้กฎหมายให้สอดคล้องกับ “ความต้องการของสังคม” ผู้พิพากษาต้องปรับใช้กฎหมายอย่างเป็นาภาวะวิสัย เชื่อใน The Rules of Law Law as Social Engineering

5 Law as Social Engineering
Legal Science ความคิดที่พยายามสร้างความเป็นนิติศาสตร์ (ศาสตร์) ให้อยู่บนพื้นฐานของหลักการที่อธิบายอย่างภาวะวิสัยได้ เหมือนกับวิทยาศาสตร์ ดังนั้นการตัดสินคดีของผู้พิพากษาจึงไม่ควรจะเบี่ยงเบนไปตามความรู้สึก หรือบริบททางสังคม Pure Theory of Law – Hans Kelsen 1967 กฎหมายสร้างขึ้นบนหลักการพื้นฐานทั่วไป (Basic Norm) Law as Social Engineering

6 ความเห็นโต้แย้งเกี่ยวกับ บทบาทของผู้พิพากษา
ในขณะที่นักสัจจนิยมทางกฎหมาย มองว่าการตัดสินของศาลเป็นจิตวิทยาของผู้พิพากษาส่งผลต่อคำพิพากษานั้นๆ (Jerome N. Frank – Law and the Modern Mind 1933) เมื่อศาลไม่สามารถพัฒนาหลักกฎหมายได้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม การออกกฎหมายให้เกิดการเปลี่ยบแปลงอย่างกว้างในสังคมก็มีความจำเป็น กฎหมายต้องสอดคล้องกับสังคม Law as Social Engineering

7 Law as Social Engineering
ข้อวิพากษ์เกี่ยวกับแนวคิดที่พยายามสร้างให้ผู้พิพากษา เป็นผู้ชี้นำสังคม เป็นผู้บังคับใช้กฎหมายได้อย่างถูกต้องนั้น ตามแนวคิดสัจจนิยมทางกฎหมาย มองว่าผู้พิพากษาก็เป็นปุถุชนธรรมดา ดังนั้นย่อมตัดสินคดีไปตามที่ตนเองถูกหล่อหลอมมา ได้แก่ เป็นภาวะส่วนตัว ที่มีประสบการณ์เช่น เคยอยู่ในครอบครัวที่มีความรุนแรง ในการตัดสินคดีที่เกี่ยวกับความรุนแรงในครอบครัวก็จะตัดสินลงโทษอย่างเข้มงวด หรือ การอยู่ในกรอบที่สร้างนักกฎหมายแบบนั้น เช่น กระบวนการอบรมผู้พิพากษา ที่ต้องมี “จรรยา” กำหนดกรอบว่าผู้พิพากษาต้องตัดสินคดีอย่างไร ความสำคัญของการศึกษากฎหมายกับสังคม ในแนวทางนี้ คือ การแสวงหาว่าผู้พิพากษามีแนวทางการใช้กฎหมายอย่างไร เช่น การเข้าไปดูแนวทางการตัดสินคดี (อ่านงาน เพศวิถีในคำพิพากษา โดยสมชาย ปรีชาศิลปกุล) Law as Social Engineering

8 ตัวอย่างของสัจจนิยมในกฎหมายไทย คดี ดร.ฆ่าเมีย?
กฎหมายใส่กางเกง คาดโรแล็กซ์? การวิพากษ์วิจารณ์คำพิพากษาจากสังคม รูปคดีและการสั่งฟ้องจากตำรวจ (ต้นน้ำ) การไต่สวนของอัยการและการสั่งฟ้อง (กลางน้ำ) การพิจารณาของศาล (ปลายน้ำ) หลักการของการดำเนินคดีความรุนแรงในครอบครัว เบื้องหลังคนที่เกี่ยวข้องในคดี Law as Social Engineering

9 Law as Social Engineering
อ่านบทความ - นัทมน คงเจริญ และสมชาย ปรีชาศิลปกุล, “ข่มขืนโดยกระบวนการยุติธรรม,” วารสานิติสังคมศาสตร์, Vol 1, No 1 (2003) file:///C:/Users/LB1401/Downloads/ SM.pdf – สมชาย ปรีชาศิลปกุล, “จากระบบกฎหมายแบบทวิเพศสู่ระบบกฎหมายแบบพหุเพศ,” วารสานิติสังคมศาสตร์ Vol 6, No 1 (2013) file:///C:/Users/LB1401/Downloads/ SM.pdf The End Law as Social Engineering


ดาวน์โหลด ppt Law as Social Engineering

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google