แผนธุรกิจ บริษัท บุญอริยะ อิมปอร์ต จำกัด กิจกรรม “ การพัฒนาศักยภาพการบริหารธุรกิจในอุตสาหกรรมแฟชั่น ” ภายใต้ โครงการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมแฟชั่นไทย สำนักพัฒนาการจัดการอุตสาหกรรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวง อุตสาหกรรม
2 รูปแบบธุรกิจของกิจการ KP KA KR VPCRCS CH CSRS Value Proposition Key PartnersKey Activities Key Resources Customer Relationship Customer Segmentation Channel Revenue Stream Cost Structure ช่วยเหลื อสังคม Online รายได้ จากการ ขาย การ ออกแบบ ค่าจ้าง ผลิต ผู้ผลิ ต นักท่องเ ที่ยว ต่างชาติ วัตถุดิบ หนังแท้ แหล่ง วัตถุดิ บ นัก ออกแบ บ ผู้จัด จำหน่า ย การ ออกแบ บ กลุ่ม เริ่มต้น ทำงาน อายุ 28 ปีขึ้นไป Outlet
3 กลยุทธ์ การเติบโตอย่างมั่นคง สร้างแบรนด์ให้ชัดเจน สร้างฐานลูกค้าให้แข็งแรง รักษา ความสัมพันธ์ กับโรงงานผู้ผลิตที่เป็นพันธมิตร มีการ ออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ตรงกับความต้องการของตลาด หา รายได้เสริมจากช่องทางอื่น เช่น การรับจ้างผลิตสินค้าที่เป็น ของชำร่วยสำหรับหน่วยงานธุรกิจ, ภาครัฐ ฯ ควบคุมรายจ่าย ได้อย่างเหมาะสม และ ช่วยเหลือสังคม
4 กลยุทธ์ ( ช่องทางจำหน่าย ) ช่องทางจำหน่าย ปัจจุบัน บริษัท บุญอริยะ อิมปอร์ต จำกัด มีรายได้จากร้านค้า ในศูนย์การค้า อิมพีเรียล สำโรง, สวนจตุจักร กรุงเทพฯและ ศูนย์การค้า เมญ่า จ. เชียงใหม่ ซึ่ง ลูกค้าส่วนใหญ่เป็นชาว ต่างประเทศ มากกว่าคนในพื้นที่ ลักษณะการซื้อ เป็นการซื้อ ใช้ส่วนตัว และเป็นของฝาก อิมพีเรียลจตุจักร เมญ่า
5 กลยุทธ์ ( ช่องทางจำหน่าย ) ช่องทางจำหน่าย ( ออนไลน์ ) ผู้ประกอบการมีความพยายามที่จะผลักดันช่องทางการขาย ใหม่ ด้วยการสร้างเว็บไซต์ และใช้สื่อสังคมออนไลน์ เพื่อ ติดต่อสื่อสารและสร้างกลุ่มลูกค้าใหม่ แต่ยังอยู่ในระยะเริ่มต้น และมีข้อมูลน้อยเกินไป จึงควรเพิ่ม “ เนื้อหา ” เพื่อสร้าง ความสัมพันธ์กับผู้เยี่ยมชม มีกิจกรรมที่ทำให้พวกเขา “ เชื่อถือ ” และสามารถเปลี่ยนเป็นผู้ซื้อได้ในที่สุด
เว็บไซต์ที่ถูกวางตำแหน่งให้เป็นแหล่งความรู้ด้าน “ ผลิตภัณฑ์เครื่องหนัง ”
สื่อสังคมออนไลน์ เป็นช่องทางการติดต่อที่สำคัญ หากมีแล้ว ต้องหมั่นสื่อสาร เพื่อให้เกิดการติดตามอย่างต่อเนื่อง รวมถึงวาง กลยุทธ์ เพื่อเปลี่ยนผู้ชม ให้เป็นผู้ซื้อได้ในที่สุด
8 กลยุทธ์ (Brand) Brand ตราสัญลักษณ์ มีความสำคัญต่อการจดจำของลูกค้า และ ช่วยสร้างความแตกต่างจากคู่แข่ง แม้ บุญอริยะ จะมี TANNER เป็นแบรนด์อยู่แล้ว แต่ร้านจำหน่ายฯ กลับเป็นแบ รนด์ยี่ห้ออื่น ( เนื่องจากยังมีสินค้าอื่นขายรวมอยู่ด้วย ) ซึ่งอาจ สร้างความสับสนได้ ดังนั้น ผู้ประกอบการฯ ควรพิจารณาว่าจะ “ เลือก ” สร้างแบ รนด์เดียวให้ชัดเจนเสียก่อน จึงแตกเป็นแบรนด์อื่น เพื่อสร้าง ความชัดเจนเสียก่อน นอกจากนี้ในกรณีที่รับจ้างทำ OEM สามารถเจรจากับคู่ค้า ให้รับผลิตภัณฑ์ที่มีแบรนด์ของตนไปจำหน่ายด้วย หรือลด ราคาในการสั่งทำเป็นพิเศษได้หรือไม่ ? ด้วยวิธีนี้จะทำให้ Brand เป็นที่รู้จักในวงกว้าง และถูกยอมรับได้อย่างรวดเร็ว ขึ้น