รศ.ดร.จิตตินันท์ เดชะคุปต์ สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์ นโยบายและแผนยุทธศาสตร์ โลกที่เหมาะสมสำหรับเด็ก: มาตรการด้านเด็กและครอบครัว โดย รศ.ดร.จิตตินันท์ เดชะคุปต์ สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ประเด็นนำเสนอ แนวความคิดและทิศทางการพัฒนา สถานการณ์และแนวโน้มของเด็ก เยาวชน และครอบครัว นโยบาย แผนยุทธศาสตร์ และมาตรการด้าน เด็กและครอบครัว
แนวคิดและทิศทางการพัฒนา ความสำคัญของครอบครัวในระดับโลก วัตถุประสงค์ เงื่อนไขสู่ความสำเร็จ กรอบความคิด ทิศทางการพัฒนา
กรอบความคิด เด็กและเยาวชน (หน่วยงานระดับนโยบาย/ปฏิบัติ/วิชาการ) ภาครัฐ (องค์กรที่มุ่งผลกำไร/สื่อมวลชน) ภาคธุรกิจ (องค์กรไม่มุ่งผลกำไร/องค์กรวิชาชีพ) ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/ชุมชน/ประชาชน) ความเป็นอยู่ที่ดี สัมพันธภาพที่อบอุ่น ครอบครัว ความรู้ความเข้าใจเด็ก เด็กและเยาวชน
สถานการณ์และแนวโน้ม ของเด็ก เยาวชน และครอบครัว สถานการณ์และปัญหาของเด็กและเยาวชน สถานการณ์และปัญหาของครอบครัว
โครงสร้าง/ลักษณะครอบครัว
โครงสร้าง/ลักษณะครอบครัว(ต่อ)
ขนาดของครอบครัว ปี 2523 5.2 คน/ครัวเรือน ปี 2533 4.4 คน/ครัวเรือน ปี 2523 5.2 คน/ครัวเรือน ปี 2533 4.4 คน/ครัวเรือน ปี 2543 3.9 คน/ครัวเรือน ปี 2545 3.5 คน/ครัวเรือน
อัตราการจดทะเบียนสมรส/หย่า
อัตราเด็กและผู้สูงอายุถูกทอดทิ้ง
สัดส่วนของครัวเรือนที่มีรายได้ มากกว่ารายจ่ายร้อยละ 10 ขึ้นไป
ดัชนีความอยู่ดีมีสุขด้านชีวิตครอบครัว
ดัชนีความอยู่ดีมีสุขด้านชีวิตครอบครัว(ต่อ)
สภาพปัญหาครอบครัวไทย ปัญหาสัมพันธภาพในครอบครัว ปัญหาการอบรมเลี้ยงดูเด็ก ปัญหาพฤติกรรมเบี่ยงเบนของวัยรุ่น ปัญหาการดูแลผู้สูงอายุในครอบครัว ปัญหาความหลากหลายของครอบครัว
นโยบายยุทธศาสตร์และแผนสภาวะที่เหมาะสมสำหรับเด็กและเยาวชนด้านครอบครัว นโยบายระดับชาติ เป้าหมาย คุณลักษณะของสภาวะที่เหมาะสม ยุทธศาสตร์การพัฒนา
ยุทธศาสตร์การพัฒนา การส่งเสริมเครือข่ายทางสังคมเพื่อพัฒนาเด็ก การพัฒนาศักยภาพครอบครัวแบบองค์รวม การส่งเสริมเครือข่ายทางสังคมเพื่อพัฒนาเด็ก และครอบครัว การให้ความคุ้มครองแก่เด็กและครอบครัว การพัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยี ระบบ ข้อมูลข่าวสาร และการศึกษาวิจัย
สรุปสภาวะที่เหมาะสมสำหรับเด็กด้านครอบครัว กายภาพ บ้านน่าอยู่/ปลอดภัย บริเวณบ้านมีพื้นที่วิ่งเล่น/เป็นธรรมชาติ ชุมชนสิ่งแวดล้อมน่าอยู่/ปลอดภัย วัสดุสิ่งของสำหรับการเรียนรู้ตามวัย
สรุปสภาวะที่เหมาะสมสำหรับเด็กด้านครอบครัว(ต่อ) จิต-สังคม พ่อแม่มีความรักความเข้าใจ พ่อแม่ให้การดูแล/อบรมเลี้ยงดู พ่อแม่ให้โอกาสการเรียนรู้ พ่อแม่ให้กำลังใจ/เป็นที่พึ่งให้ลูก
สรุปสภาวะที่เหมาะสมสำหรับเด็กด้านครอบครัว(ต่อ) สติปัญญา พ่อแม่ส่งเสริมการเรียนรู้ของลูก พ่อแม่เสริมสร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ พ่อแม่เป็นแบบอย่างที่ดีในการเรียนรู้
สรุปสภาวะที่เหมาะสมสำหรับเด็กด้านครอบครัว(ต่อ) จิตวิญญาณ พ่อแม่มีคุณธรรม/เข้าใจคุณค่าแห่งชีวิต พ่อแม่มีอารมณ์มั่นคง/ไม่ใช้ความรุนแรง บรรยากาศในบ้านสงบสุข
โลกที่เหมาะสมสำหรับเด็ก คือ "สภาวะที่ผู้ใหญ่เห็นเด็กมีคุณค่า"