มุมมองขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ต่องานอนามัยสิ่งแวดล้อม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
สถานการณ์ส้วมสาธารณะในกรุงเทพมหานคร
ความรู้เรื่องประชาคมอาเซียน
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
การส่งเสริมและสนับสนุน ให้สหกรณ์เป็นวาระ แห่งชาติ.
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค ด้านสุขภาพ (ปรับปรุง )
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
๒ ปี...ก้าวย่างของการพัฒนา
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
ป.ย.ป. คณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง เป็นส่วนที่ตั้งขึ้นโดยอาศัยอํานาจตามความในมาตรา.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
รศ. ทวีศักดิ์ สูทกวาทิน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
โครงการ “สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่” (ลูกไก่)
การปกครองท้องถิ่น ในปัจจุบัน
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism)
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มุมมองขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ต่องานอนามัยสิ่งแวดล้อม ภายใต้แนวคิดการปฏิรูปประเทศไทย 8 กันยายน 2554 ภูเขางามรีสอร์ท นครนายก นายแพทย์สุธี ฮั่นตระกูล รองนายกเทศมนตรีนครพิษณุโลก

แผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติฉบับที่ 2 พ.ศ. 2555-2559

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ. ศ. 2540 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 และฉบับที่ 2 พ.ศ. 2549

กระจายอำนาจจากส่วนกลางไปสู่ท้องถิ่น อปท. ชุมชน ประชาชน ภาคประชาสังคม (ท้องถิ่นปกครองตนเอง) ยุบเลิกราชการส่วนภูมิภาค ประสานนโยบาย วิชาการ สนง.สาขาของราชการส่วนกลาง สนง.ตรวจสอบและเสนอแนะท้องถิ่น

น้ำ สุขอนามัย และการสุขาภิบาล ขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย Charter of the Regional Forum on Environment and Health Southeast and East Asian Countries-Framework for Cooperation Bangkok Declaration on Environment and Health คุณภาพอากาศ น้ำ สุขอนามัย และการสุขาภิบาล ขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย สารเคมีเป็นพิษและสารอันตราย การเปลี่ยนแปลงสภาวะอากาศ การเตรียมการและการปฏิบัติการในภาวะฉุกเฉินด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม

แผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติฉบับที่ 1 พ.ศ. 2551-2554 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลักความเสมอภาคและความเท่าเทียมกันในสังคม หลักการผู้ก่อมลพิษเป็นผู้จ่าย หลักการกระจายอำนาจ หลักการระวังไว้ก่อน หลักการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารสู่สาธารณะ หลักการของปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อมและมลพิษที่สามารถข้ามพรมแดนได้ หลักการบริหารจัดการที่ดี หลักการมีส่วนร่วมของประชาชน

แผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติฉบับที่ 2 พ.ศ. 2555-2559 ประชากรทั่วโลกที่อาศัยอยู่ในเขตเมือง มีมากกว่าร้อยละ 50 ประเทศไทยมีประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองประมาณร้อยละ 36 เพิ่มการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ

อดีต...

Hazardous Waste Drop off Collection Transport Storage Disposed by Private Company Transport Storage

Phitsanulok Mechanical Biological Treatment – MBT Suthi Hantrakul Deputy Mayor, Phitsanulok City Municipality

Infectious Waste : Incinerate

Scheme of the current windrow and ventilation system Dipl.-Bioi. Gabriele Janikowski, IKW GmbH

MBT on Landfill

Screening

Compost-Like Substance Biomass : For Gasification

Refuse Derived Fuel :RDF

Pyrolysis to liquid fuel

ขอบเขตของงานอนามัยสิ่งแวดล้อม - การจัดหาน้ำสะอาด น้ำประปา - การควบคุมมลพิษทางน้ำ - การจัดการขยะมูลฝอยและของเสียที่มีลักษณะ เป็นของแข็ง - การควบคุมสัตว์อาร์โทรพอดและสัตว์แทะ - มลพิษของดิน - การสุขาภิบาลอาหาร - การควบคุมมลพิษทางอากาศ

ขอบเขตของงานอนามัยสิ่งแวดล้อม - อาชีวอนามัย - การควบคุมมลพิษทางเสียง - ที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อม - การวางผังเมือง - งานอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการคมนาคม - การป้องกันอุบัติภัยต่างๆ - การสุขาภิบาลของสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ - การดำเนินงานสุขาภิบาลเมื่อเกิดโรคระบาด เหตุฉุกเฉิน ภัยพิบัติ และการอพยพย้ายถิ่นของประชากร - มาตรการป้องกันเพื่อให้สิ่งแวดล้อมโดยทั่วไปปราศจากความเสี่ยง หรืออันตรายใด ๆ

ทิศทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อม ทวีสุข พันธุ์เพ็ง สำนักที่ปรึกษา กรมอนามัย

งานอนามัยสิ่งแวดล้อม - เดิมเป็นหลักการควบคุมป้องกันโรคในงาน สาธารณสุข -เน้นการดำเนินการโดยเจ้าหน้าที่ภาครัฐ -เน้นเนื้อหาด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพและ วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม -ใช้มาตรการทางกฎหมายประกอบ

ประเด็นสำคัญของสถานการณ์งานอนามัยสิ่งแวดล้อมของไทย -การกระจายอำนาจสู่การปกครองท้องถิ่น -การเข้าถึงบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม -การมีส่วนร่วมในกระบวนการนโยบายสาธารณะด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม -ประชาสังคม ภาคธุรกิจ ตื่นตัวและให้ความสำคัญต่อการดำเนินงาน -การปฏิบัติตามอนุสัญญาและข้อตกลงระหว่างประเทศยังไม่สมบูรณ์ -นโยบายการพัฒนาด้านอื่นๆ ครอบคลุมงานอนามัยสิ่งแวดล้อมบูรณาการ -หลายหน่วยงานร่วมกันรับผิดชอบ – หลายเจ้าภาพ

1. เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน 2. สร้างความมั่นคงของเศรษฐกิจชุมชน ยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคมเป็นฐานที่มั่นคงของประเทศ 1. เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน 2. สร้างความมั่นคงของเศรษฐกิจชุมชน 3. เสริมสร้างศักยภาพชุมชนในการอยู่ร่วมกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสันติและเกื้อกูล 4. พัฒนากลไกการขับเคลื่อนดุลยภาพการพัฒนาในชุมชน

ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างธรรมาภิบาลในการ บริหารจัดการประเทศสู่ความยั่งยืน 1. ปรับระบบบริหารจัดการภาครัฐให้มีธรรมาภิบาลกระจายอำนาจให้ อปท.รับผิดชอบจัดบริการสาธารณะในท้องถิ่น/ชุมชน 2. สร้างความเข้มแข็งภาคประชาชน / ประชาสังคมในการบริหารจัดการประเทศ 3 .พัฒนาวัฒนธรรมประชาธิปไตยให้เป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตในสังคมไทย 4. ส่งเสริมภาคธุรกิจเอกชนให้เข้มแข็ง สุจริต มีธรรมาภิบาล 5. ปรับโครงสร้าง กลไก และกระจายการจัดสรรทรัพยากรภาครัฐสู่ภูมิภาค ท้องถิ่น และชุมชน

การดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ผ่านมา - แยกส่วน ขาดการบูรณาการ / ขาดการมองภาพรวม - ยึดตัวเหตุทางสิ่งแวดล้อมที่ก่อผลกระทบสุขภาพเป็นหลัก - ขยะ - ของเสีย / สิ่งปฏิกูล - มลพิษสิ่งแวดล้อม - การปนเปื้อนอาหารและน้ำดื่ม - ฯลฯ - เน้นเชิงเทคนิค – เทคโนโลยี / วิทยาศาสตร์ - ขาดมิติทางสังคม - ขาดมิติทางการบริหาร / กระบวนการนโยบาย - ขาดการมองงานลักษณะภาคีหุ้นส่วน / บทบาทที่เหมาะสมของภาคีต่างๆ - ไม่ครอบคลุมเนื้อหางานสาธารณสุขตามแนวคิดใหม่ - นักอนามัยสิ่งแวดล้อม / ท้องถิ่น บทบาทหลักจำกัดอยู่กับด้านเทคนิค และ การใช้กฎหมาย

สิ่งที่ควรดำเนินการต่อไป 1 สิ่งที่ควรดำเนินการต่อไป 1. ด้านการบริหารจัดการ - นโยบายและแผนอนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติที่มาจากภาคีร่วมร่วมกันจัดทำขึ้น - กลไกคณะกรรมการอำนวยการและคณะทำงานเพื่อการประสานงานและติดตามการแปลงนโยบายไปสู่การปฏิบัติ - การพัฒนาองค์กรและบุคลากรให้มีสมรรถนะหลักในการดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อมในระดับต่างๆ - การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม - การพัฒนาระบบการสนับสนุนการดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - การพัฒนานโยบายและแผนเพื่อสร้างความเสมอภาคให้แก่กลุ่มผู้ด้อยโอกาสให้เข้าถึงบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม

ด้านวิชาการ - การพัฒนางานประเมินผลกระทบต่อสุขภาพจากสิ่งแวดล้อมเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจเชิงนโยบาย - การพัฒนาระบบเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากสิ่งแวดล้อม - การพัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยีที่เหมาะสมแก่ภาคีในการสืบค้นและควบคุมป้องกันปัญหา - การพัฒนารูปแบบการดำเนินงานที่เหมาะสมกับบริบทด้านสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองในระดับต่างๆ

3. ด้านกฎหมาย - การพัฒนาการใช้มาตรการทางกฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล - การพัฒนามาตรการสนับสนุนการใช้กฎหมาย 4. ด้านสังคม - การพัฒนาแนวทางสร้างความเสมอภาคด้านสุขภาพโดยใช้งานอนามัยสิ่งแวดล้อม - ปลูกจิตสำนึก สร้างความตระหนัก การตลาดทางสังคม และสร้างกระแสสังคมเพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงาน - พัฒนาการมีส่วนร่วมของภาคี

แนวทางการดำเนินการในอนาคตที่ต้องการเห็น - การทำงานแบบมีส่วนร่วมที่ชัดเจนขึ้น - เครือข่าย - การทำงานร่วมกันของทุกภาคส่วนอย่างมีศักดิ์ศรีที่เท่าเทียมกัน - อยากเห็นการพูดคุยกันมากขึ้น เพราะจะทำให้รู้จัก รัก และร่วมมือกันทำงานมากขึ้น เจ้าเป็นไผ ? หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องทำความรู้จัก อปท. มากกว่านี้ กระแสโลก –Global Trend

ผู้เขียน : อีวาน อีลิช แปลโดย: นพ. สันต์ หัตถีรัตน์

Thank you For Your Attention