การใช้งานโปรแกรม SPSS ศุภชัย วงค์มูล
หน้าตาของโปรแกรม SPSS
ส่วนการทำงานของโปรแกรมแบ่งออกเป็น 2 ส่วนหลักๆ ได้แก่ Data View (สำหรับการกรอกข้อมูล) Variable View (สำหรับการกำหนดตัวแปรข้อมูล)
หน้าจอ Data view ลำดับของแบบสอบถาม ข้อคำถามแบบสอบถาม
หน้าจอ Variable view 1 ข้อคำถาม = 1 ตัวแปร
Name ชื่อตัวแปร (แนะนำให้ใช้ภาษาอังกฤษ ตัวเลข และ ( _ ) Type ประเภทของตัวแปร หลักจะได้ใช้ Numuric ประเภทตัวเลข String ประเภทข้อความ
Label ข้อความกำกับตัวแปร อาจระบุเป็น คำถามหรือตัวเลือกของคำถาม Value คือค่าที่เป็นไปได้ เช่น ค่าที่เป็นไปได้ของ เพศ คือ ชาย และ หญิง ค่าที่เป็นไปได้ของชั้นปีในระดับ ป.ตรี คือ 1,2,3 และ 4 Missing ค่าข้อมูลที่สูญหาย
Colums กำหนดความกว้างของคอลัมภ์ในหน้า Data View Align จัดตำแหน่งการวางข้อความ Measure Nominal ตัวแปรที่มีการแบ่งเป็นกลุ่ม เช่น เพศ Ordinal ตัวแปรที่แบ่งกลุ่มโดยการเรียงอันดับ
ประเภทของคำถามในแบบสอบถาม แบบตัวเลือกเดียว เช่น เพศ. คณะ. ระดับการศึกษา (Nominal) แบบหลายตัวเลือก (Nominal) แบบเรียงลำดับ (Nominal) แบบให้ประมาณค่า (Scale)
ชีวิตง่ายขึ้นด้วย Value Label
การหาค่าร้อยละ (%) คลิกเมนุ Analyze > Descriptive Statistics > Frequencies
การหาค่าร้อยละ (%) เลือกชุดตัวแปรที่อยู่ทางด้านซ้าย คลิกปุ่ม จากนั้น ชุดตัวแปรที่เลือกจะไปปรากฏ ในช่องด้านขวามือ กดปุ่ม OK
การหาค่าร้อยละ (%) ในหน้าจอ Output จะแสดงผลลัพธ์แบบตาราง
การหาค่าเฉลี่ย เลือกเมนู Analyze > Descriptive Statistics> Descriptives
การหาค่าเฉลี่ย เลือกตัวแปรที่ต้องการนำมาประมวลผล เลือกรูปแบบการประมวลผล โดยในที่จะ หาค่าเฉลี่ยนให้ เลือก Mean ในกรณีที่ ต้องการหาค่าอื่นด้วย ให้คลิกเลือกค่านั้น แล้วกด Continue เมื่อกลับมาในหน้าจอเดิม กด OK
การหาค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ยและข้อมูลอื่นๆ จะถูกนำมาแสดงผล ในหน้าจอ Output
การหาค่าร้อยละ (%) ของคำถามแบบหลายตัวเลือก สร้างตัวแปรโดยแยกตัวเลือกของคำถามออกเป็นแต่ละตัวแปร เช่น คำถามถาม บริการของห้องสมุดที่ผู้ใช้ชอบ เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ โดยมีตัวเลือก เป็น ดังนั้นตัวแปรที่ได้ในโปรแกรม SPSS จะได้มา 5 ตัวแปร โดย Value ใน ที่นี้ถ้าเลือกจะให้เป็น 1 ถ้าไม่เลือกให้เป็น 0
ตัวอย่างการกรอกข้อมูลคำถามแบบหลายตัวเลือกในหน้า Data View 1 = เลือก 0 = ไม่เลือก
เลือก Analyze > Multiple Response > Define Variable Sets
เลือกชุดข้อมูล และเลื่อนให้มาอยู่ในช่องด้านขวา Name ชื่อตัวแปร (ภาษาอังฤษ) Label ข้อความกำกับตัวแปร Counted Value ค่าที่จะให้นับในกรณีนี้จะเป็น 1 กดปุ่ม Add ชื่อตัวแปรจะไป ปรากฏในช่องขวามือ
ไปยังเมนู Analyze > Multiple Response > Frequencies
ตัวแปรที่สร้างขึ้นในขั้นตอนก่อนหน้าจะ อยู่ด้านซ้ายมือ จากนั้นเลื่อนตัวแปรให้อยู่ ในช่องด้านขวา จากนั้นกด OK
ในหน้าจอ Output จะแสดงร้อยละของข้อมูลแต่ละตัวเลือก
การสร้างตาราแบบ Crosstabs การสร้างตาราง Crosstabs ให้คลิกที่เมนู Analyze> Description Statistics > Crosstabs
เลือกข้อมูลในช่องด้านซ้าย ใส่ในช่อง Row และ Column โดยในช่อง Row คือตัวแปรหลัก ส่วนในช่อง Column คือ ตัวแปรที่เราต้องการเปรียบเทียบ จากนั้น คลิกที่ Cell เพื่อปรับแต่งการแสดงผล
คลิกเลือก Observed คือ ค่าสังเกตหรือค่าข้อมูลที่เก็บได้จริง คลิกที่ Row เพื่อแสดง ร้อยละของข้อมูลในแถว จากนั้นคลิก Continue คลิกที่ OK เพื่อแสดงหน้า Output
แถวแรก แสดงจำนวนเพศชาย ที่ใช้บริการในแต่ละช่วงเวลา แถวสอง แสดงจำนวนเพศหญิง ที่ใช้บริการในแต่ละช่วงเวลา แถวสาม แสดงจำนวนทั้งชาย/หญิง ที่ใช้บริการในแต่ละช่วงเวลา
การสร้างแผนภูมิ, กราฟ เลือกเมนุ Analyze > Descriptive Statistics > Frequencies เลือกชุดข้อมูลที่ต้องการทำแผนภูมิ โดยในกรณีจะเลือกตัวแปรแบบ Nominal (ข้อมูลแบบชุด เช่น เพศ) และเปลี่ยนให้มาอยู่ในช่องด้านขวามือ จากนั้นคลิกที่ Chart
การสร้างแผนภูมิ, กราฟ เลือกประเภทของแผนภูมิ ในส่วนของ Chart Values เป็นการเลือกแสดงข้อมูล โดย Frequencies เป็นการแสดงความถี่ของข้อมูล Percentage เป็นแสดงข้อมูลแบบร้อย ละ จากนั้น กด Continue กด OK
การสร้างแผนภูมิ, กราฟ กับข้อมูลแบบ Crosstabs การสร้างแผนภูมิ, กราฟ กับข้อมูลแบบ Crosstabs มีขั้นตอนการสร้างในลักษณะเดียวกับตารางแบบ Crosstabs โดยในหน้าต่างการตั้งค่าการแสดงผล ให้คลิกเลือกที่ Display clustered barcharts
ผลลัพธ์ Barchart แบบ Crosstabs