นางสาวนิสรีน อัศวะ วิวัฒน์กุล
การปฏิบัติที่ซ้ำซ้อน มีขั้นตอนในการ ปฏิบัติงานหลายขั้นตอน ทำให้การจัดทำ เอกสารต่าง ๆ ล่าช้าและเป็นการเพิ่มภาระ งานโดยไม่จำเป็น เพื่อพัฒนากระบวนการปฏิบัติงาน ทะเบียนและประมวลผล วิทยาลัย เทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยแบบ ผสมผสาน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1. แบบสอบถาม 2. การสนทนากลุ่ม
วงจร PDCA ขั้นตอนการพัฒนากระบวนการ งานทะเบียนและประมวลผล การดำเนินการ P ขั้นการวางแผน Input 1. ศึกษากระบวนการปฏิบัติงาน ทะเบียนและประมวลผล 2. ศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการ พัฒนา 3. สอบถามความต้องการของ ผู้ตอบแบบสอบถาม 4. กำหนดแนวทางในการพัฒนา 5. กำหนดระยะเวลาการใช้ กระบวนการ 1. เลือกทฤษฎีที่เหมาะสมกับการพัฒนา กระบวนการปฏิบัติงาน 2. สอบถามความต้องการของ ผู้ตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับการ ให้บริการงานทะเบียนและประมวลผล 3. วิเคราะห์กระบวนการปฏิบัติงานทะเบียน เดิม และออกแบบกระบวนการปฏิบัติงาน ใหม่ โดยจัดการสนทนากลุ่มร่วมกับอาจารย์ ฝ่ายวิชาการ
วงจร PDCA ขั้นตอนการพัฒนา กระบวนการ งานทะเบียนและประมวลผล การดำเนินการ D ขั้นการปฏิบัติ Process ใช้กระบวนการปฏิบัติงานที่ ออกแบบใหม่ ตลอดภาคเรียน และดำเนินการให้สอดคล้อง ตามความต้องการของผู้ตอบ แบบสอบถาม ทดลองใช้กระบวนการปฏิบัติงาน ทะเบียนและประมวลผลใหม่ และ สอดแทรกเทคนิคการให้บริการ
วงจร PDCA ขั้นตอนการพัฒนา กระบวนการ งานทะเบียนและประมวลผล การดำเนินการ C ขั้นการ ประเมินผล และ ตรวจสอบ Output 1. กำหนดเครื่องมือที่ใช้ในการ วิจัย 2. เก็บข้อมูล 3. วิเคราะห์ข้อมูล 4. สรุปผลการวิจัยและอภิปราย ผล หลังจากนำกระบวนการ ปฏิบัติงาน ไปใช้จริงเป็นเวลา 1 ภาคการศึกษา ปีการศึกษา 2555 ผู้วิจัยทำการประเมินความเหมาะสม ของกระบวนการปฏิบัติงานใหม่โดย ใช้แบบสอบถาม ความพึง พอใจจากผู้ตอบแบบสอบถาม
วงจร PDCA ขั้นตอนการพัฒนา กระบวนการ งานทะเบียนและประมวลผล การดำเนินการ A ขั้นดำเนินการ ให้เหมาะสม Feedback 1. ประเมินผลการพัฒนา กระบวนการปฏิบัติงาน ทะเบียนและประมวลผล จัดสนทนากลุ่มร่วมกับอาจารย์ฝ่าย วิชาการ เพื่อพิจารณาเลือก กระบวนการปฏิบัติงานทะเบียนและ ประมวลผลที่ผู้ตอบแบบสอบถามมี ความ พึงพอใจมากไปปฏิบัติให้เป็น มาตรฐาน และพิจารณาข้อเสนอแนะ จากข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อย เพื่อหาแนว ทางแก้ไขต่อไป
ก่อนการพัฒนากระบวนการปฏิบัติงาน ทะเบียนและประมวลผล ผู้ตอบแบบสอบถาม มีความพึงพอใจโดยรวมต่อกระบวนการ ปฏิบัติงานทะเบียนและประมวลผลอยู่ในระดับ ปานกลาง และมีความต้องการให้พัฒนา กระบวนการให้บริการด้วยความรวดเร็ว สะดวก หลังจากผู้วิจัยได้นำทฤษฏีระบบมาออกแบบ กระบวนการปฏิบัติงานใหม่ รวมถึง นำวงจร คุณภาพ PDCA มาประยุกต์ใช้ในการ ปฏิบัติงาน และนำไปทดลองใช้เป็นเวลา 1 ภาคเรียน
พบว่า โดยรวมผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจ ต่อกระบวนการปฏิบัติงานมาก และเมื่อ พิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าด้านบุคลากร ที่ให้บริการและสถานที่ มีความพึงพอใจต่อ กระบวนการปฏิบัติงาน มากที่สุด ส่วนด้านที่ เหลือมีความพึงพอใจต่อกระบวนการ ปฏิบัติงานมาก เรียงตามลำดับค่าเฉลี่ย คือ การจัดทำเอกสารทางการศึกษา การ ลงทะเบียนเรียน การจัดทำรายงานผลการ เรียน และการรับสมัครนักศึกษาและจัดทำ ประวัติ
ซึ่งผลจากการสนทนากลุ่ม สรุปได้ว่าการ พัฒนากระบวนการปฏิบัติงานทะเบียนและ ประมวลผล วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ - เชียงใหม่ ทำให้งานทะเบียนและประมวลผล เกิดการพัฒนา ตามวัตถุประสงค์ที่ กำหนด มีข้อค้นพบจากความพึงพอใจของ ผู้ใช้บริการก่อนการพัฒนากระบวนการ ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจปานกลางต่อ กระบวนการปฏิบัติงานกับหลังการพัฒนา กระบวนการ ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจมาก ต่อกระบวนการปฏิบัติงาน