การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปประเด็นสำคัญเรื่องเล่า
Advertisements

ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “การปฏิบัติงานด้านการเงิน” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
การชี้แจงรายละเอียดและเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัดของหน่วยงาน ตามคำรับรองฯ ปีงบประมาณ พ.ศ.2557.
งานบริการการศึกษา.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
รูปแบบการนำเสนอ หน่วยงาน
ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า.
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
เอกสารประกอบการประชุม จังหวัดนครสวรรค์ วันที่ 14 ก.พ. 56
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
การติดตามประเมินผล และรายงาน.
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ การประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษา พ. ศ
โครงการ “ พัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา เรียนร่วมและเรียนรวม”
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
แผนยุทธศาสตร์ฯ ด้านทรัพยากรบุคคล ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ตราด.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
วิสัยทัศน์การจัดการความรู้ กรมชลประทาน กรมชลประทานมุ่งจัดการ ความรู้ สู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
สำนักบูรณาการสาธารณภัย อุบัติภัย และความปลอดภัยทางถนน มิติการพัฒนา องค์กร มิติประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ มิติคุณภาพ การให้บริการ มิติประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์
กลุ่ม การจัดการความรู้ ช่างอากาศ (KM) หน่วยงาน ฝ่ายการช่าง ฝูงบิน 461 กองบิน 46 คำขวัญ “ มุ่งหน้าแก้ไขข้อขัดข้อง เพื่อตอบสนองภารกิจ ”
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
ภาพรวมและความเชื่อมโยงการดำเนินการ ตามตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ส่วนราชการระดับกรม.
KM WEBSITE กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข เสนอ อาจารย์ สุกัลยา ชาญสมร.
ตัวชี้วัดที่ 3.2 ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินโครงการ ให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) น้ำหนั ก : LineStaff Line & Staff 777.
การขอมีหรือขอเลื่อนวิทยฐานะโดยใช้รางวัล สูงสุดระดับชาติ ตามหลักเกณฑ์ ว 13 / 2556 ดร. ชูชาติ ทรัพย์มาก ที่ปรึกษาด้านการบริหารงานบุคคลและนิติ การ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
เครื่องมือการตรวจติดตามการประเมินผลการจัดการศึกษา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
สำนักงาน ก.ก. และสำนักงานตรวจสอบภายใน สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
สถานวิทยาศาสตร์พรีคลินิก
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลง
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน
การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
PMQA หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

คำสั่ง ที่ 537/2554 ลงวันที่ 9 มิถุนายน 2554คณะทำงาน KM หน่วยงานมีหน้าที่ ดังนี้ จัดทำหรือกำหนดประเด็นความรู้และเป้าหมายของการจัดการความรู้ที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัย กำหนดบุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่จะพัฒนาความรู้และทักษะอย่างชัดเจนตามประเด็นที่กำหนดในข้อ 1 มีการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากความรู้ ทักษะของผู้มีประสบการณ์ตรง จัดทำรายงานการจัดการความรู้ของหน่วยงาน ปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ที่เกี่ยวกับการจัดการความรู้ ตามที่มหาวิทยาลัย

วัตถุประสงค์ของการประชุม เพื่อการจัดทำแผนปฏิบัติการจัดการความรู้ของหน่วยงานสำหรับใช้ในการดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 เพื่อการเตรียมการสำหรับการกำกับ ติดตามความคืบหน้า และประเมินผลความสำเร็จของการจัดการความรู้ของหน่วยงาน

แนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติการ การจัดการความรู้

วงจรของการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

แผนปฏิบัติการการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 - ตัวอย่าง - แผนปฏิบัติการการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

แผนปฏิบัติการการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 (ต่อ) 5. รายละเอียดเป้าหมายผลงานจากการจัดการความรู้ : ผลผลิต/ตัวชี้วัด หน่วยนับ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 2559 2560 2561 2562 ผลผลิต: องค์ความรู้ในวิธีการส่งเสริมให้นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น   ตัวชี้วัด : 1. ความสำเร็จของการนำองค์ความรู้ไปใช้โดยนักศึกษาในกลุ่มมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำมีผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น ร้อยละ 20 40 50 60 70

แผนปฏิบัติการการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 (ต่อ) 6. แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ผลผลิต/ขั้นตอน/กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ* ผลผลิต: องค์ความรู้ในวิธีการส่งเสริมให้นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น   ขั้นตอนที่ 1 :การกำหนดประเด็นการจัดการความรู้และนิยามความรู้ที่บ่งชี้ 20 วัน  กิจกรรม : 1. กำหนดประเด็นย่อย ๆ ในการส่งเสริมให้นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น 2. กำหนดนิยามในแต่ละประเด็นอย่างชัดเจน

แผนปฏิบัติการการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 (ต่อ) 6. แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 (ต่อ) ผลผลิต/ขั้นตอน/กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ* ขั้นตอนที่ 2 : การสร้างและแสวงหาความรู้ 90 วัน  กิจกรรม :   1. แสวงหาอาจารย์ที่มีความเชี่ยวชาญในการสอนและประสบความสำเร็จในประเด็นที่กำหนด 2. ใช้เครื่องมือ KM ต่าง ๆ เพื่อรวบรวมความรู้ ขั้นตอนที่ 3 : การจัดความรู้ให้เป็นระบบ 110 วัน วิเคราะห์และจำแนกข้อมูลที่ได้ออกเป็นหมวดหมู่ตามประเด็นหลักและประเด็นย่อย ๆ และการจัดเก็บข้อมูลลงตามหมวดหมู่ที่กำหนด

แผนปฏิบัติการการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 (ต่อ) 6. แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 (ต่อ) ผลผลิต/ขั้นตอน/กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ* ขั้นตอนที่ 4 : การประมวลและกลั่นกรองความรู้  130 วัน กิจกรรม :   วิเคราะห์ สังเคราะห์หาความสัมพันธ์ของข้อมูลที่ได้ และจัดรูปแบบการนำเสนอที่เข้าใจง่าย ขั้นตอนที่ 5 : การเข้าถึงความรู้ 150 วัน นำความรู้ที่ได้ไปใช้งานจริงในการเรียนการสอน

แผนปฏิบัติการการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 (ต่อ) 6. แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 (ต่อ) ผลผลิต/ขั้นตอน/กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ* ขั้นตอนที่ 6 : การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้  170 วัน กิจกรรม :   แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกสำนักวิชา ขั้นตอนที่ 7 : การเรียนรู้ 200 วัน ประเมินผลความสำเร็จในการนำความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์

ปฏิทินการดำเนินการจัดทำแผนปฏิบัติการจัดการความรู้ของหน่วยงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ประชุมชี้แจงการจัดทำแผน ปฏิบัติการจัดการความรู้ฯ ร่วมกับผู้แทนของหน่วยงาน วันศุกร์ที่ 26 กันยายน 2557 หน่วยงานจัดทำแผนปฏิบัติการจัดการความรู้ 29 กันยายน – 20 ตุลาคม 2557 ฝ่ายเลขานุการฯ รวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์ แผนปฏิบัติการจัดการความรู้ฯ วันที่ 21 – 24 ตุลาคม 2557 นำเสนอแผนปฏิบัติการความรู้ฯ ต่อคณะกรรมการบริหารจัดการความรู้ฯ เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ วันอังคารที่ 28 ตุลาคม 2557 ประกาศใช้แผนปฏิบัติการจัดการความรู้ฯ เพื่อให้หน่วยงานดำเนินการต่อไป วันจันทร์ที่ 3 พฤศจิกายน 2557

แนวทางในการกำกับติดตามความคืบหน้า ในการดำเนินการจัดการความรู้ของหน่วยงาน

การติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน ตามแผนปฏิบัติการจัดการความรู้ของหน่วยงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 1. ตัวชี้วัดในการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการจัดการความรู้ ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการการจัดการความรู้ ชนิดตัวบ่งชี้ : ผลผลิต คำอธิบายตัวบ่งชี้ : การติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการจัดการความรู้ หมายถึง กระบวนการและขั้นตอนในการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการจัดการความรู้ พิจารณาจาก ผลคะแนนที่ได้จากการประเมินตนเองของประเด็นการจัดการความรู้ ประกอบด้วย 1) การนิยามความรู้ที่บ่งชี้ 2) การสร้างและแสวงหาความรู้ 3) การจัดความรู้ให้เป็นระบบ 4) การประมวลและกลั่นกรองความรู้ 5) การเข้าถึงความรู้ 6) การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ และ 7) ขั้นตอนของการเรียนรู้ โดยนำระยะเวลาการสะสมที่ดำเนินการได้จริงมาเปรียบเทียบกับระยะเวลาตามแผนสะสมที่กำหนดไว้ โดยใช้สูตรการคำนวณดังต่อไปนี้

การติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน ตามแผนปฏิบัติการจัดการความรู้ของหน่วยงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 (ต่อ) การคำนวณ :

การให้คะแนน - การติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน ตามแผนปฏิบัติการจัดการความรู้ของหน่วยงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 เกณฑ์การให้คะแนน : ขั้นตอนการดำเนินงาน ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการการจัดการความรู้ในส่วนของกระบวนการจัดการความรู้ (KM Process) (คะแนน) 1 2 3 4 5 1. การนิยามความรู้ที่บ่งชี้ < ร้อยละ 40 ร้อยละ 40 - 59 ร้อยละ 60 - 79 ร้อยละ 80 - 99  ร้อยละ 100 ขึ้นไป 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ 5. การเข้าถึงความรู้ 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ 7. การเรียนรู้

ขั้นตอนการดำเนินงาน/กิจกรรม ตัวอย่าง - การติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน ตามแผนปฏิบัติการจัดการความรู้ของหน่วยงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ขั้นตอนการดำเนินงาน/กิจกรรม แผน ผล 1. การกำหนดประเด็นการจัดการความรู้และนิยามความรู้ที่บ่งชี้ 20 วัน   กิจกรรม: 1. กำหนดประเด็นย่อย ๆ ในการส่งเสริมให้นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสูงขึ้น 2. กำหนดนิยามในแต่ละประเด็นอย่างชัดเจน 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ 90 วัน กิจกรรม: 1. แสวงหาอาจารย์ที่มีความเชี่ยวชาญในการสอนและประสบความสำเร็จในประเด็นที่กำหนด 2. ใช้เครื่องมือ KM ต่าง ๆ เพื่อรวบรวมความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

ขั้นตอนการดำเนินงาน/กิจกรรม ตัวอย่าง - การติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน ตามแผนปฏิบัติการจัดการความรู้ของหน่วยงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 (ต่อ) ขั้นตอนการดำเนินงาน/กิจกรรม แผน ผล 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ 110 วัน   กิจกรรม: 1. วิเคราะห์และจำแนกข้อมูลที่ได้ออกเป็นหมวดหมู่ตามประเด็นหลักและประเด็นย่อย ๆ และการจัดเก็บข้อมูลลงตามหมวดหมู่ที่กำหนด 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ 130 วัน กิจกรรม: 1. วิเคราะห์ สังเคราะห์หาความสัมพันธ์ของข้อมูลที่ได้ และจัดรูปแบบการนำเสนอที่เข้าใจง่าย 5. การเข้าถึงความรู้ 150 วัน กิจกรรม: 1. นำความรู้ที่ได้ไปใช้งานจริงในการเรียนการสอน

ขั้นตอนการดำเนินงาน/กิจกรรม ตัวอย่าง - การติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน ตามแผนปฏิบัติการจัดการความรู้ของหน่วยงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 (ต่อ) ขั้นตอนการดำเนินงาน/กิจกรรม แผน ผล 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ 170 วัน   กิจกรรม: 1. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกสำนักวิชา 7. การเรียนรู้ 200 วัน กิจกรรม: 1. ประเมินผลความสำเร็จในการนำความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์

ตัวอย่าง - การคำนวณแบบฟอร์มการติดตามและประเมินผลฯ

ตัวอย่าง – การคำนวณผลคะแนนการกำกับติดตาม และประเมินผลฯ

ในทุกวันที่ 10 ของเดือนถัดไป ปฏิทินการติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน ตามแผนปฏิบัติการจัดการความรู้ของหน่วยงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ************ หน่วยงานดำเนินการรายงานผลตามแผนงบประมาณที่กำหนด และจัดส่งให้แก่ฝ่ายเลขานุการฯ (ส่วนแผนงาน) ในทุกวันที่ 10 ของเดือนถัดไป

ขอบคุณครับ