การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt
คำสั่ง ที่ 537/2554 ลงวันที่ 9 มิถุนายน 2554คณะทำงาน KM หน่วยงานมีหน้าที่ ดังนี้ จัดทำหรือกำหนดประเด็นความรู้และเป้าหมายของการจัดการความรู้ที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัย กำหนดบุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่จะพัฒนาความรู้และทักษะอย่างชัดเจนตามประเด็นที่กำหนดในข้อ 1 มีการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากความรู้ ทักษะของผู้มีประสบการณ์ตรง จัดทำรายงานการจัดการความรู้ของหน่วยงาน ปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ที่เกี่ยวกับการจัดการความรู้ ตามที่มหาวิทยาลัย
วัตถุประสงค์ของการประชุม เพื่อการจัดทำแผนปฏิบัติการจัดการความรู้ของหน่วยงานสำหรับใช้ในการดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 เพื่อการเตรียมการสำหรับการกำกับ ติดตามความคืบหน้า และประเมินผลความสำเร็จของการจัดการความรู้ของหน่วยงาน
แนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติการ การจัดการความรู้
วงจรของการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt
แผนปฏิบัติการการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 - ตัวอย่าง - แผนปฏิบัติการการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt
แผนปฏิบัติการการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 (ต่อ) 5. รายละเอียดเป้าหมายผลงานจากการจัดการความรู้ : ผลผลิต/ตัวชี้วัด หน่วยนับ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 2559 2560 2561 2562 ผลผลิต: องค์ความรู้ในวิธีการส่งเสริมให้นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น ตัวชี้วัด : 1. ความสำเร็จของการนำองค์ความรู้ไปใช้โดยนักศึกษาในกลุ่มมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำมีผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น ร้อยละ 20 40 50 60 70
แผนปฏิบัติการการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 (ต่อ) 6. แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ผลผลิต/ขั้นตอน/กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ* ผลผลิต: องค์ความรู้ในวิธีการส่งเสริมให้นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น ขั้นตอนที่ 1 :การกำหนดประเด็นการจัดการความรู้และนิยามความรู้ที่บ่งชี้ 20 วัน กิจกรรม : 1. กำหนดประเด็นย่อย ๆ ในการส่งเสริมให้นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น 2. กำหนดนิยามในแต่ละประเด็นอย่างชัดเจน
แผนปฏิบัติการการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 (ต่อ) 6. แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 (ต่อ) ผลผลิต/ขั้นตอน/กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ* ขั้นตอนที่ 2 : การสร้างและแสวงหาความรู้ 90 วัน กิจกรรม : 1. แสวงหาอาจารย์ที่มีความเชี่ยวชาญในการสอนและประสบความสำเร็จในประเด็นที่กำหนด 2. ใช้เครื่องมือ KM ต่าง ๆ เพื่อรวบรวมความรู้ ขั้นตอนที่ 3 : การจัดความรู้ให้เป็นระบบ 110 วัน วิเคราะห์และจำแนกข้อมูลที่ได้ออกเป็นหมวดหมู่ตามประเด็นหลักและประเด็นย่อย ๆ และการจัดเก็บข้อมูลลงตามหมวดหมู่ที่กำหนด
แผนปฏิบัติการการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 (ต่อ) 6. แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 (ต่อ) ผลผลิต/ขั้นตอน/กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ* ขั้นตอนที่ 4 : การประมวลและกลั่นกรองความรู้ 130 วัน กิจกรรม : วิเคราะห์ สังเคราะห์หาความสัมพันธ์ของข้อมูลที่ได้ และจัดรูปแบบการนำเสนอที่เข้าใจง่าย ขั้นตอนที่ 5 : การเข้าถึงความรู้ 150 วัน นำความรู้ที่ได้ไปใช้งานจริงในการเรียนการสอน
แผนปฏิบัติการการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 (ต่อ) 6. แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 (ต่อ) ผลผลิต/ขั้นตอน/กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ* ขั้นตอนที่ 6 : การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ 170 วัน กิจกรรม : แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกสำนักวิชา ขั้นตอนที่ 7 : การเรียนรู้ 200 วัน ประเมินผลความสำเร็จในการนำความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์
ปฏิทินการดำเนินการจัดทำแผนปฏิบัติการจัดการความรู้ของหน่วยงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ประชุมชี้แจงการจัดทำแผน ปฏิบัติการจัดการความรู้ฯ ร่วมกับผู้แทนของหน่วยงาน วันศุกร์ที่ 26 กันยายน 2557 หน่วยงานจัดทำแผนปฏิบัติการจัดการความรู้ 29 กันยายน – 20 ตุลาคม 2557 ฝ่ายเลขานุการฯ รวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์ แผนปฏิบัติการจัดการความรู้ฯ วันที่ 21 – 24 ตุลาคม 2557 นำเสนอแผนปฏิบัติการความรู้ฯ ต่อคณะกรรมการบริหารจัดการความรู้ฯ เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ วันอังคารที่ 28 ตุลาคม 2557 ประกาศใช้แผนปฏิบัติการจัดการความรู้ฯ เพื่อให้หน่วยงานดำเนินการต่อไป วันจันทร์ที่ 3 พฤศจิกายน 2557
แนวทางในการกำกับติดตามความคืบหน้า ในการดำเนินการจัดการความรู้ของหน่วยงาน
การติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน ตามแผนปฏิบัติการจัดการความรู้ของหน่วยงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 1. ตัวชี้วัดในการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการจัดการความรู้ ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการการจัดการความรู้ ชนิดตัวบ่งชี้ : ผลผลิต คำอธิบายตัวบ่งชี้ : การติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการจัดการความรู้ หมายถึง กระบวนการและขั้นตอนในการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการจัดการความรู้ พิจารณาจาก ผลคะแนนที่ได้จากการประเมินตนเองของประเด็นการจัดการความรู้ ประกอบด้วย 1) การนิยามความรู้ที่บ่งชี้ 2) การสร้างและแสวงหาความรู้ 3) การจัดความรู้ให้เป็นระบบ 4) การประมวลและกลั่นกรองความรู้ 5) การเข้าถึงความรู้ 6) การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ และ 7) ขั้นตอนของการเรียนรู้ โดยนำระยะเวลาการสะสมที่ดำเนินการได้จริงมาเปรียบเทียบกับระยะเวลาตามแผนสะสมที่กำหนดไว้ โดยใช้สูตรการคำนวณดังต่อไปนี้
การติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน ตามแผนปฏิบัติการจัดการความรู้ของหน่วยงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 (ต่อ) การคำนวณ :
การให้คะแนน - การติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน ตามแผนปฏิบัติการจัดการความรู้ของหน่วยงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 เกณฑ์การให้คะแนน : ขั้นตอนการดำเนินงาน ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการการจัดการความรู้ในส่วนของกระบวนการจัดการความรู้ (KM Process) (คะแนน) 1 2 3 4 5 1. การนิยามความรู้ที่บ่งชี้ < ร้อยละ 40 ร้อยละ 40 - 59 ร้อยละ 60 - 79 ร้อยละ 80 - 99 ร้อยละ 100 ขึ้นไป 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ 5. การเข้าถึงความรู้ 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ 7. การเรียนรู้
ขั้นตอนการดำเนินงาน/กิจกรรม ตัวอย่าง - การติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน ตามแผนปฏิบัติการจัดการความรู้ของหน่วยงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ขั้นตอนการดำเนินงาน/กิจกรรม แผน ผล 1. การกำหนดประเด็นการจัดการความรู้และนิยามความรู้ที่บ่งชี้ 20 วัน กิจกรรม: 1. กำหนดประเด็นย่อย ๆ ในการส่งเสริมให้นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสูงขึ้น 2. กำหนดนิยามในแต่ละประเด็นอย่างชัดเจน 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ 90 วัน กิจกรรม: 1. แสวงหาอาจารย์ที่มีความเชี่ยวชาญในการสอนและประสบความสำเร็จในประเด็นที่กำหนด 2. ใช้เครื่องมือ KM ต่าง ๆ เพื่อรวบรวมความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt
ขั้นตอนการดำเนินงาน/กิจกรรม ตัวอย่าง - การติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน ตามแผนปฏิบัติการจัดการความรู้ของหน่วยงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 (ต่อ) ขั้นตอนการดำเนินงาน/กิจกรรม แผน ผล 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ 110 วัน กิจกรรม: 1. วิเคราะห์และจำแนกข้อมูลที่ได้ออกเป็นหมวดหมู่ตามประเด็นหลักและประเด็นย่อย ๆ และการจัดเก็บข้อมูลลงตามหมวดหมู่ที่กำหนด 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ 130 วัน กิจกรรม: 1. วิเคราะห์ สังเคราะห์หาความสัมพันธ์ของข้อมูลที่ได้ และจัดรูปแบบการนำเสนอที่เข้าใจง่าย 5. การเข้าถึงความรู้ 150 วัน กิจกรรม: 1. นำความรู้ที่ได้ไปใช้งานจริงในการเรียนการสอน
ขั้นตอนการดำเนินงาน/กิจกรรม ตัวอย่าง - การติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน ตามแผนปฏิบัติการจัดการความรู้ของหน่วยงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 (ต่อ) ขั้นตอนการดำเนินงาน/กิจกรรม แผน ผล 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ 170 วัน กิจกรรม: 1. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกสำนักวิชา 7. การเรียนรู้ 200 วัน กิจกรรม: 1. ประเมินผลความสำเร็จในการนำความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์
ตัวอย่าง - การคำนวณแบบฟอร์มการติดตามและประเมินผลฯ
ตัวอย่าง – การคำนวณผลคะแนนการกำกับติดตาม และประเมินผลฯ
ในทุกวันที่ 10 ของเดือนถัดไป ปฏิทินการติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน ตามแผนปฏิบัติการจัดการความรู้ของหน่วยงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ************ หน่วยงานดำเนินการรายงานผลตามแผนงบประมาณที่กำหนด และจัดส่งให้แก่ฝ่ายเลขานุการฯ (ส่วนแผนงาน) ในทุกวันที่ 10 ของเดือนถัดไป
ขอบคุณครับ