การปรับเปลี่ยนลูกจ้าง ชั่วคราวเข้าสู่การเป็น พนักงานกระทรวง สาธารณสุข
ขั้นตอนการดำเนินการ ☺ แจ้งคณะกรรมการบริหาร+ใบที่จะได้รับเงินเดือน 9 ก.ค. 56 ☺ ประชุมชี้แจงลูกจ้างชั่วคราว+แจกหนังสือแสดงเจตนา ขอเข้ารับการประเมิน+ใบที่จะได้รับเงินเดือน 11 ก.ค. 56 ☺ หัวหน้าประเมินองค์ประกอบ+ส่งใบJD +ใบแสดงเจตนา ของแต่ละบุคคลให้กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล 2-17 ก.ค. 56
ขั้นตอนการดำเนินการ ☺ ส่งใบแสดงเจตนา 19 ก.ค. 56 ☺ ส่งใบแสดงเจตนา 19 ก.ค. 56 ☺ ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ 29 ก.ค. 56 ☺ สอบสัมภาษณ์ 30 กค.-6 ส.ค. 56 ☺ ประกาศรายชื่อผู้ผ่านการประเมิน 13 ส.ค. 56 ☺ ทำสัญญาจ้าง 13-19 ส.ค. 56 ☺ สรุปส่งกระทรวงสาธารณสุข 22 ส.ค. 56
ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น ประเมินตามแบบประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่ง (ผู้บังคับบัญชาใกล้ชิดหรือเหนือขึ้นไป 1 ระดับ เช่น หัวหน้างาน/ฝ่าย/กลุ่มงาน/ศูนย์) - ผู้บังคับบัญชาประเมินฯ องค์ประกอบที่ 1 กับองค์ประกอบที่ 2 จำนวน 50 คะแนน - สอบสัมภาษณ์ 50 คะแนน ต้องผ่านเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
ค่าจ้างและสิทธิประโยชน์ ค่าจ้าง ให้ดูเอกสารหน้า 25 เริ่มใช้ตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค 56-31 ธ.ค.56 เอกสารหน้า 26 เริ่มใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2557 เป็นต้นไป กรณีปรับค่าจ้างเพิ่มขึ้นร้อยละ 5 ต่อทุกประสบการณ์ 2 ปี แต่ สูงสุดไม่เกิน 5 ช่วง (10 ปี) เศษของปี เดือน วัน ตัดทิ้ง นับปีเต็ม ดังนี้ - ค่าประสบการณ์ 2 ปี 5% - ค่าประสบการณ์ 4 ปี 10% - ค่าประสบการณ์ 6 ปี 15% - ค่าประสบการณ์ 8 ปี 20% - ค่าประสบการณ์ 10 ปี 25% 8
ค่าจ้างและสิทธิประโยชน์ กรณีที่มีการปรับเปลี่ยนตำแหน่งจากเดิมถ้าเป็นกลุ่มเดียวกันนับ ระยะเวลาต่อเนื่อง แต่ถ้าเป็นคนละกลุ่มกันนับระยะเวลาตั้งแต่วันที่ ปรับเปลี่ยนตำแหน่ง เช่น - เดิมตำแหน่ง เสมียนหอ ปรับเป็นพนักงานช่วยเหลือคนไข้ นับอายุงานต่อเนื่อง - เดิมตำแหน่ง พนักงานช่วยเหลือคนไข้ ไปสอบเป็น เจ้าพนักงานธุรการ เริ่มนับระยะเวลาตั้งแต่เป็น เจ้าพนักงานธุรการ - เดิมตำแหน่ง พยาบาลเทคนิค ได้ใบประกอบวิชาชีพ นับระยะเวลาตั้งแต่ปรับเปลี่ยนเป็น พยาบาลวิชาชีพ 9
สิทธิประโยชน์ พนักงานกระทรวงสาธารณสุขอาจได้รับสิทธิประโยชน์ดังต่อไปนี้ 1. สิทธิเกี่ยวกับการลาประเภทต่าง ๆ 2. สิทธิในการได้รับค่าจ้างระหว่างลา 3. สิทธิในการได้รับค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลางาน 4. ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง 5. ค่าเบี้ยประชุม 6. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพของพนักงานกระทรวงสาธารณสุข 7. สิทธิตามกฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม 8. สิทธิอื่น ๆ ที่ กพส.กำหนด 10
สิทธิเกี่ยวกับการลาประเภทต่าง ๆ การลาป่วย ปีละไม่เกิน 45 วันทำการ การลาคลอดบุตร 90 วัน ได้รับค่าจ้าง 45 วัน รับปกส. 45 วัน ลาป่วยไปช่วยเหลือภริยาที่คลอดบุตร 15 วันทำการ ลากิจส่วนตัว ปีละไม่เกิน 15 วัน ปีแรก 6 วันทำการ ลาพักผ่อน ทำงานครบ 6 เดือน ปีละไม่เกิน 10 วันทำการ ลาอุปสมบทหรือลาไปประกอบพิธีฮัจย์ ได้รับค่าจ้างต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 4 ปี มีสิทธิลาได้ 1 ครั้ง ไม่เกิน 120 วัน การลาเข้ารับการตรวจเลือกหรือเข้ารับการเตรียมพล ลาได้ตามระยะเวลาที่ทางราชการทหารกำหนด เมื่อพ้นระยะเวลาต้องกลับมารายงานตัวภายใน 7 วัน การลาไปศึกษาฝึกอบรม ปฏิบัติการวิจัยหรือดูงานในประเทศ จ้างงานมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี 11
- ตำแหน่งที่ปรับเปลี่ยนเป็นพนักงานกระทรวง - ตำแหน่งที่ปรับเปลี่ยนเป็นพนักงานกระทรวง สาธารณสุข ให้ดูในตารางการปรับเปลี่ยน - ตำแหน่งที่คิดเงินอัตราใหม่ให้แล้ว หากมี รายการใดผิดพลาดขอให้ทุกหน่วยงานรวบรวม ส่งที่กลุ่มงานทรัพยากรบุคคลภายในวันที่ 15 ก.ค. 56 เพื่อดำเนินการแก้ไขต่อไป 12