การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคตัวต่อ วิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.
Advertisements

ผลงานวิจัยเรื่อง “ ชื่อเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความ คงทนในการเรียนรู้เรื่องความรู้เกี่ยวกับแผนธุรกิจ ( Business Plan ) วิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อมรหัส.
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
การใช้ชุดฝึกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่อง กระดาษทำการ 8 ช่อง ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ โดย นางสาวพรรัมภา ชูรักษ์
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
ผู้วิจัย นางบุปผา แย้มชุติ
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
นางสาวสุภัทรา สุขวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
ปัญหาการวิจัย : 1. การพัฒนาของ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อเป็น แนวทางการศึกษาแบบใหม่ 2. พัฒนาทักษะและชักจูงความสนใจ ของนักศึกษาให้สนใจต่อการเรียน ให้มากขึ้น.
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ผู้วิจัย นางสาวจินตนา เชื้อเมืองพาน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ วิชาไมโครคอนโทรเลอร์ โดยใช้สื่อการเรียนการสอนเรื่อง ไมโครคอนโทรลเลอร์ควบคุม 7 Segment สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่

นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
นางสาวอัญชลี คำแปง วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นายณัฐกร กันทะศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวทัศนา จันทะเรือง วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการราชดำเนิน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การศึกษากิจกรรมพิเศษเพื่อส่งเสริมแรงจูงใจต่อการเรียน
การสร้างและพัฒนาชุดฝึกทักษะ การแก้โจทย์ปัญหา เรื่อง อนุพันธ์
ผู้วิจัย : นายสิทธิชัย โกเสนตอ
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
***นำเสนอผลงานวิจัย***
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
การแก้ปัญหาการขาดเรียน ในรายวิชาโครงการ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการบัญชี
นางสุกัญญา พลรัตนมงคล วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นางสาวพรสุดา ดอกบัว วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาพิมพ์ดีดไทย 1 โดยใช้แบบฝึกกลุ่มคำสั้น ๆ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 1 โดย นางสุกัญญา พลรัตนมงคล.
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
ผู้วิจัย นายวราวุฒิ สาริกบุตร วิทยาลัย เทคโนโลยี ศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
นางสาวถนอมนวล ฐาปนพงษ์ไพบูลย์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร
อาจารย์นริสรา คลองขุด
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวอมรรัตน์ ท่วมแก้ว
ชื่อเรื่องวิจัย. การส่งเสริมพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาระดับชั้นปวช
นางสาวนันท์นภัส นาราช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนการ สอนรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( ปวช. ) ชั้นปีที่ 1 กลุ่ม A11 และ A12.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการสร้างเว็บเพจ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย ที่ได้รับการสอนแบบ.
นายขวัญชัย ดวงทนัน วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการเขียนแบบก่อสร้าง 1 นักศึกษาระดับ ปวช. 1 หลังการใช้สื่อประกอบการสอน โมเดลโครงสร้างบ้าน สาขางานสถาปัตยกรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ จิรายุทธ กรรณาลงกรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่

ปัญหาการวิจัย ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 ผู้วิจัยได้รับมอบหมายให้ดำเนินการสอนนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขางานสถาปัตยกรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ ในรายวิชาการเขียนแบบก่อสร้าง 1 จากการจัดการเรียนการสอน ผู้วิจัยสังเกตจากการเรียนพบว่ามีนักศึกษาจำนวนมากไม่เข้าใจโครงสร้างแบบบ้าน ที่อาจารย์มอบหมายให้นักศึกษาเขียน ทำให้การจัดการเรียนการสอนดำเนินไปได้ล่าช้ากว่าที่ควรจะเป็น จากเหตุผลดังกล่าว ทำให้ผู้วิจัยสนใจที่สร้างสื่อประกอบการสอน โมเดลโครงสร้างบ้าน เพื่อช่วยสร้างรากฐานที่เป็นรูปธรรมขึ้นในความคิดของนักศึกษา แทนการฟังเพียงอย่างเดียว เพื่อให้สิ่งที่เป็นนามธรรมเกิดเป็นรูปธรรมขึ้นในความคิด และเพื่อให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพและมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการเขียนแบบก่อสร้าง 1 ของนักศึกษาหลังการใช้สื่อประกอบการสอน โมเดลโครงสร้างบ้าน 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการเขียนแบบก่อสร้าง 1 ของนักศึกษาก่อนและหลังใช้สื่อประกอบการสอน โมเดลโครงสร้างบ้าน

แผนภูมิ การเปรียบเทียบความแตกต่างก่อนและหลังการใช้สื่อประกอบการสอนโมเดลโครงสร้างบ้าน 86 79 82 79 80 63 58 63 60 60

สรุปผลการวิจัย สรุปได้ว่า การที่ผู้สอนศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการเขียนแบบก่อสร้าง 1 ของนักศึกษาหลังการใช้สื่อประกอบการสอน โมเดลโครงสร้างบ้าน เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการเขียนแบบก่อสร้าง 1 ของนักศึกษาก่อนและหลังใช้สื่อประกอบการสอน โมเดลโครงสร้างบ้านสำหรับนักศึกษาระดับ ปวช.1 สาขางานสถาปัตยกรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 ทำให้นักศึกษามีผลคะแนนดีขึ้น

อภิปรายผลการวิจัย การที่ผู้สอนศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการเขียนแบบก่อสร้าง 1 ของนักศึกษาหลังการใช้สื่อประกอบการสอน โมเดลโครงสร้างบ้าน เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการเขียนแบบก่อสร้าง 1 ของนักศึกษาก่อนและหลังใช้สื่อประกอบการสอน โมเดลโครงสร้างบ้านสำหรับนักศึกษาระดับ ปวช.1 สาขางานสถาปัตยกรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 ค่าเฉลี่ยของร้อยละและค่าเฉลี่ยของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ก่อนใช้สื่อประกอบการสอน โมเดลโครงสร้างบ้าน คือ ร้อยละ 61 และ 1.26 ตามลำดับ ค่าเฉลี่ยของร้อยละและค่าเฉลี่ยของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน หลังใช้สื่อประกอบการสอนโมเดลโครงสร้างบ้าน คือ ร้อยละ 81 และ 4.14 ทำให้นักศึกษามีผลคะแนนดีขึ้น 

ผลกระทบที่เกิดขึ้น 1.ทำให้อาจารย์ผู้สอนพัฒนาสื่อการเรียนการสอนใหม่ ๆ เพื่อช่วยให้การเรียนเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว และสัมฤทธิ์ผลตามวัตถุประสงค์ 2. เป็นแนวทางให้อาจารย์ผู้สอนในรายวิชาอื่นๆ ได้สร้างสื่อการเรียนการสอน เพื่อช่วยให้การเรียนเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว และสัมฤทธิ์ผลตามวัตถุประสงค์

ข้อเสนอแนะ 1.อาจารย์ผู้สอนในวิชาอื่น ๆ ควรสร้างสื่อการเรียนการสอน เพื่อช่วยให้การเรียนเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว และสัมฤทธิ์ผลตามวัตถุประสงค์

โมเดลโครงสร้างบ้าน