การประเมินหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพพุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ. ศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
Advertisements

สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาโปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่อง งานนำเสนอข้อมูลด้านมัลติมีเดียนักเรียนปวช.2.
นางสาวพรศิริ กลิ่นบำรุง วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยามในพระอุปถัมภ์ ฯ
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
01 WINTER ชื่อเรื่องวิจัย การดำเนินงานนิเทศภายในของ โรงเรียนศรีธนาพณิชยการเทคโนโลยี เชียงใหม่ Template ชื่อผู้วิจัย นางศิริรัตน์ ชุมสาย ณ อยุธยา.
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
สุจิตรา บำรุงกาญจน์ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู ภาคเหนือ
การใช้วิธีสอนแบบซินดิเคทในการสอนวิชาภาษาไทย
ดร.สมพงษ์ อัศวริยธิปัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ
การมีส่วนร่วมของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 ในกิจกรรม ของโรงเรียนกรุงเทพการบัญชี วิทยาลัย โรงเรียนกรุงเทพการบัญชี วิทยาลัย นางสาวโสภา.
นางสาวสุภัทรา สุขวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
นางสาว ธันยพัต ภักดี วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการจรัลสนิทวงศ์
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมประยุกต์ทางคอมพิวเตอร์ โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
การศึกษาเจตคติต่อวิชาการเลขานุการ
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
งานวิจัยเรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.ปีที่ 1 สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดยใช้วิธีการเรียนแบบร่วมมือกลุ่มกัลยาณมิตร.
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การนำเสนอผลงานวิจัย โดย : นายเอกพงษ์ วรผล.
การประเมินพฤติกรรมการ เรียนของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.2 ) สาขาการตลาด ปี การศึกษา 2555 ผู้วิจัย นายฉัตรชัย ภักดีนอก ตำแหน่ง อาจารย์ประจำฝ่ายวิชาการ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเจ้าพระยา
ผู้วิจัย อาจารย์พรรณี เสือรักษ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
การศึกษาองค์ประกอบการตัดสินใจของผู้ปกครองในการส่งบุตรหลานเข้าศึกษาต่อใน วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ นางสาวธัญศญา ธรรมิสกุล วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ.
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่

ชื่อเรื่อง. ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมองค์กรกับประสิทธิผลองค์กร
ผู้วิจัย อาจารย์เกษร วุฒิสินธ์
ชื่อผู้วิจัย : นางสาวไอลดา วัฒนสิทธิ์
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
การศึกษาบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษา ในการทำหน้าที่แนะแนวตามทัศนะของ นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ วิทยาลัยเทคโนโลยีจรัลสนิทวงศ์ นางสาวมณีโชค สังหาญ.
นางสาวกาญจนา เลิศรุ่งรัศมี
นางสาวเบญริสา ทองจำรูญ วิทยาลัยเทคโนโลยีจรัลสนิทวงศ์
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลอง วิชาการขาย 2 เรื่องกระบวนการขายของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้เรียนชั้นปวช.1
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
การนำเสนอผลงานวิจัย ชื่อเรื่อง : สมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. แผนก การบัญชี ตามความคิดเห็นของหัวหน้าแผนกบัญชี ในเขตพื้นที่
การวัดและประเมินผล.
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน วิชาหลักการจัดการ โดยใช้วิธีการ สอนแล้วสอบ ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส. 2/1 – 2/5 ) ปี การศึกษา.
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย ถนนสนามบิน อ.เมือง จ.เชียงราย
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ผลงานวิจัยพัฒนาสถาบัน
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาอาชีวศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาการ บัญชี วิชาการบัญชีเบื้องต้น ด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบสร้าง สถานการณ์จำลอง.
ชื่อผู้วิจัย ประชิด เกิดมาก
การทดลองใช้เอกสารประกอบการเรียน ในวิชาบัญชีเบื้องต้น 2
สภาพแวดล้อมภายในวิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
เรื่อง การพัฒนาทักษะการพิมพ์หนังสือราชการภายนอก ในรายวิชาพิมพ์ไทยด้วยคอมพิวเตอร์ 2 โดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอน แบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักศึกษา ระดับ.
นางสาวทิพย์วรรณ จะปูน วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร เชียงใหม่
นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี
รายงานการวิจัย การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาธุรกิจที่พัก
ชื่อเรื่อง. ผลการติดตามลักษณะการมีงานทำ ภายใน 1 ปี
การศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนการ สอนรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( ปวช. ) ชั้นปีที่ 1 กลุ่ม A11 และ A12.
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
โดย นายยิ่งเจริญ บุญยัง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นางสาวเกสรา ฉายารัตน์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประเมินหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพพุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ. ศ การประเมินหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพพุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ.ศ. 2546) สาขาวิชาพณิชยการ Evaluation of Commercial Program in Vocational Certificate Curriculum B.E. 2545 [Revised B.E. 2546] โดย นางสาวภุมรินทร์ ชวนชม

ปัญหาการวิจัย ประเทศไทยเป็นประเทศที่กำลังพัฒนาและมีปัญหาเกี่ยวกับกำลังคนค่อนข้างมาก อันสืบเนื่องมาจากระบบและวิธีการจัดการศึกษาที่ไม่สามารถสร้างและกระจายโอกาส รวมทั้งคุณภาพการศึกษาได้อย่างเท่าเทียมกัน การจัดการเรียนการสอนจะต้องสนองตอบความต้องการของภาคอุปสงค์ (Demand Side) หลายฝ่ายได้แสดงความคิดเห็นสอดคล้องกันว่า ในทศวรรษแรก ความเชื่อมั่นในเรื่องคุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษาทั้งในระดับอาชีวศึกษา และอุดมศึกษา ค่านิยมระหว่างการเรียนระดับประกาศนียบัตรอาชีวศึกษากับปริญญาบัตร หรือผู้ประกอบการต้องหันไปว่าจ้างบุคคลที่สำเร็จการศึกษาสูงกว่าความต้องการที่แท้จริง เป็นต้น

ปัญหาการวิจัย (ต่อ) สอดคล้องกับความคิดเห็นของเกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ ที่กล่าวไว้ว่าปัจจุบันไทยมีความต้องการแรงงานระดับอาชีวศึกษาอย่างมาก จากผลการศึกษาความต้องการกำลังคนของกลุ่มอุตสาหกรรม พบว่ากลุ่มอุตสาหกรรมต่าง ๆ ขาดแคลนกำลังคนระดับกลางหรือระดับปฏิบัติการค่อนข้างมาก โดยเฉพาะผู้จบระดับ ปวช. และ ปวส. นอกจากนั้น สถาบันอาชีวศึกษาไทยที่มีหลากหลายประเภท ควรพัฒนาระบบวิเคราะห์หาความต้องการตลาดแรงงาน เพื่อเป็นฐานข้อมูลพัฒนาหลักสูตรสายอาชีพที่สอดคล้องกับความต้องการตลาดแรงงาน จากการนำหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพพุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ.ศ. 2546) สาขาวิชาพณิชยการไปใช้ดังที่กล่าวข้างต้น ผู้วิจัยเห็นว่าหลักสูตรฯ ควรมีการประเมินเพื่อให้ทราบถึงสภาพของการนำหลักสูตรไปใช้ในสถานศึกษา อันจะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอน และเป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป

วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อประเมินหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ.ศ. 2546) สาขาวิชาพณิชยการ ใน 4 ด้าน ดังนี้ ด้านบริบทของหลักสูตร ด้านปัจจัยเบื้องต้นของหลักสูตร ด้านกระบวนการของหลักสูตร ด้านผลผลิตของหลักสูตร

ตารางแสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับและอันดับตามความคิดเห็นของครูและผู้บริหารที่มีต่อการประเมินหลักสูตร หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพพุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ.ศ. 2546) สาขาวิชาพณิชยการ จำแนกตามรายด้าน ด้าน (n = 11) ระดับ ความเหมาะสม อันดับ ค่าเฉลี่ย S.D. 1. ด้านบริบท 4.25 .36 มาก 1 2. ด้านปัจจัยเบื้องต้น 4.02 .63 2 3. ด้านกระบวนการ 3.94 .75 4 4. ด้านผลผลิต 4.00 .50 3 รวม 4.05 .53 ด้าน (n = 40) ระดับ ความเหมาะสม อันดับ ค่าเฉลี่ย S.D. 1. ด้านบริบท 4.03 .42 มาก 1 2. ด้านปัจจัยเบื้องต้น 3.66 .56 4 3. ด้านกระบวนการ 3.88 .61 2 4. ด้านผลผลิต 3.80 .58 3 รวม 3.84 .48

ตารางแสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับและอันดับตามความคิดเห็นของนักเรียนและผู้สำเร็จการศึกษาที่มีต่อการประเมินหลักสูตร หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพพุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ.ศ. 2546) สาขาวิชาพณิชยการ จำแนกตามรายด้าน ด้าน (n = 353) ระดับ ความเหมาะสม อันดับ ค่าเฉลี่ย S.D. 1. ด้านปัจจัยเบื้องต้น 3.80 .64 มาก 2 2. ด้านกระบวนการ 3.92 .62 1 รวม 3.86 .60 ด้าน (n = 60) ระดับ ความเหมาะสม อันดับ S.D. 1. ด้านปัจจัยเบื้องต้น 3.58 .82 มาก 3 2. ด้านกระบวนการ 3.63 .84 2 3. ด้านผลผลิต 3.70 .85 1 รวม .61

สรุปผลการวิจัย 1. ด้านบริบท กลุ่มผู้บริหารและครูเห็นว่าด้านบริบทของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ.ศ. 2546) สาขาวิชาพณิชยการ มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย = 4.25, 4.02) 2. ด้านปัจจัยเบื้องต้น กลุ่มผู้บริหาร ครู นักเรียนและผู้สำเร็จการศึกษาเห็นว่าด้านปัจจัยเบื้องต้น ของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ.ศ. 2546) สาขาวิชาพณิชยการ มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย = 4.03, 3.66, 3.81, 3.58)

สรุปผลการวิจัย (ต่อ) 3. ด้านกระบวนการ กลุ่มผู้บริหาร ครู นักเรียนและผู้สำเร็จการศึกษาเห็นว่าด้านกระบวนการของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพพุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ.ศ. 2546) สาขาวิชาพณิชยการ มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย = 3.95, 3.88, 3.93, 3.63) 4. ด้านผลผลิต กลุ่มผู้บริหาร ครูและผู้สำเร็จการศึกษาเห็นว่าด้านผลผลิตของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ.ศ. 2546) สาขาวิชาพณิชยการ มีความเหมาะสมในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย = 4.00, 3.80, 3.70)

ผลกระทบหรือประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาสามารถนำผลการวิจัยที่ได้ไปพัฒนาหลักสูตรในด้านบริบท ปัจจัยเบื้องต้น กระบวนการ และผลผลิต ผู้บริหารสถานศึกษาสามารถนำผลการวิจัยที่ได้ไปใช้ในการบริหารจัดการหลักสูตร