การนำผลการวิจัยสู่การ ใช้ประโยชน์ วิจารณ์ พานิช สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้ เพื่อสังคม ( สคส.) MAHIDOL UNIVERSITY Wisdom of the Land

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วัตถุประสงค์ พัฒนาองค์ความรู้การดำเนินงาน คบส.ให้กับ อสม. และเครือข่ายในชุมชน เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งให้กับเครือข่ายชุมชนที่ดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับชุมชน.
Advertisements

กลยุทธ์การขับเคลื่อน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ด้วยการวิจัย
แนวคิด ในการส่งเสริมการอ่าน
นโยบายการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
บทบาทของนักวิจัยไทย ต่อ
โครงร่างองค์กร (Organizational Profile)
การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นพื้นฐาน
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
“แนวปฏิบัติจัดการความรู้” (The Practices of Knowledge Management)
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
Research & Development รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
แผนแม่บทงานวิจัย การสร้างเครือข่าย และการสนับสนุนงานวิจัยเชิงพาณิชย์
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
“Knowledge Management in Health Care”
Knowledge Management (KM)
“โรงเรียนกับแนวคิดการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้”
การบรรยาย หัวข้อ “KM : เครื่องมือพัฒนาทีมงาน และองค์การ”
เทคนิคการทำงานกับชาวบ้าน : ประสบการณ์การเรียนรู้ที่ควรแก่การแสวงหา
ดร.กะปุ๋ม กล่าวถึง ในมุมมองของคนเชียร์ให้คนทำวิจัยจากงานประจำ (R2R facilitator) ทำอย่างไรคนที่ทำงาน R2R ในระบบสุขภาพจึงจะมีความสุข และไม่คิดว่าเป็นภาระ.
ชุมชน สังคม ภาคใต้บน ชาติ นานาชาติ
การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของ พืชวงศ์ขิงในภูวังงาม จังหวัดอุดรธานี
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
การทำงานเชิงกระบวนการในชุมชน
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็น มหาวิทยาลัยชั้นนำ ในระดับภูมิภาคเอเชีย ทำหน้าที่ผลิตบัณฑิต บริการวิชาการ และ ทำนุบำรุงวัฒนธรรม โดยมีการวิจัยเป็นฐาน วิสัยทัศน์
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
“ทำงานประจำให้เป็นงานวิจัย R to R”
การสอบวัดคุณสมบัติสำหรับนักศึกษาปริญญาเอก (Qualify Examination : QE)
กรณีศึกษา Gotoknow.org การจัดการความรู้ด้วย Weblog
ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน
เครื่องมือสำหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Gotoknow.org
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
บทที่ 3 Planning.
การดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบบูรณาการ สู่
การวิจัยเพื่อท้องถิ่น: ความรู้เพื่อเสริมความแกร่ง (เข้มแข็ง) ของชุมชน
อาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
การลดต้นทุนการผลิตพืช ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน
กรอบ/แผนการจัดการความรู้สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ปี2553
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
การนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
กระบวนการวิจัย Process of Research
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
ระบบส่งเสริมการเกษตร
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
บ้านเลขที่ 11/7 Family Model สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
จังหวัดนราธิวาส โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข แบบ ABC
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
การวิจัยในงานประจำ.
แนวทางการจัดการความรู้ (Knowledge Management) ปีงบประมาณ 2558
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
วทน. กับสังคม เรียนรู้ วิจารณ์ พานิช มูลนิธิสถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อ สังคม ( สคส.)
การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (R2R)
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
งานธุรกิจ สาระการงานอาชีพ และเทคโนโลยี.
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
การสร้างและจัดการภูมิปัญญา การแพทย์พื้นบ้าน วิจารณ์ พานิช ยุทธศาสตร์การทำงานของกรมฯ.
KM : การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การนำผลการวิจัยสู่การ ใช้ประโยชน์ วิจารณ์ พานิช สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้ เพื่อสังคม ( สคส.) MAHIDOL UNIVERSITY Wisdom of the Land บรรยายใน UKM13 จ. กระบี่ 1 ส. ค. 2551

มีหลากหลาย รูปแบบ ไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัว หลากหลาย key players ทุก player ต้องเอาความรู้ของ ตนเองเข้าผสมผสาน – เป็น intelligent user ของ ผลงานวิจัย ในหลายบริบท นักวิจัยเป็น “ คุณอำนวย ” (facilitator)

John Walleya, M Amir Khanb, Sayed Karam Shahc, Sophie Witterd, Xiaolin Weia How to get research into practice: first get practice into research Bulletin of the World Health Organization (BLT) 2007; 85 : 424 – 425. Typically research is divorced from implementation Discovering ways to increase access to and delivery of interventions is a major challenge. Typically research is divorced from implementation, which has led to a growing literature about how to get research into practice. However, operational research is best prioritized, designed, implemented and replicated from within national programmes. The current model for most international health service research is based on the assumption that the research community “discovers” solutions and then tries to market them to busy decision-makers and practitioners. The problem of failing to get research into policy and practice is well known. Much debate focuses on the effectiveness of different approaches to dissemination and behaviour

Get Practice into Research = R2R P2R, R2D2R, R2D2Report, R2D2Data Analysis งานประจำคือ ขุมทอง / โอกาส / ความสุข คนทำงานประจำเป็นคนสำคัญ คนทำงานประจำคือนักวิจัย R2R / P2R R2R2NewSOP R2R2P - Policy - Practice

ผู้บริหาร : ผู้ใช้ผลงานวิจัย R2R ท้าทายสู่ new SOP / new Practice Guidelines ท้าทายโจทย์ใหม่ ที่ “พอดี” ใช้เป็นเครื่องมือทำ Change Management แบบ “ soft ” หรือ “ Positive Change ” ใช้เป็นเครื่องมือ HRD ใช้เป็นเครื่องมือสู่ LO

Get Daily Life into Research ชาวบ้านร่วมกันตั้งโจทย์ & กำหนดวิธี ทดลอง ชาวบ้านร่วมกันเก็บข้อมูล & ตีความข้อมูล ชาวบ้านนำไปใช้เปลี่ยนวิถีชีวิต นักวิจัยทำหน้าที่ พี่เลี้ยง / คุณอำนวย นักวิจัยทำหน้าที่บันทึก และเขียนรายงาน วิจัยชาวบ้าน / วิจัยท้องถิ่น

Get Daily Life into Research ชาวบ้านร่วมกันตั้งโจทย์ & กำหนดวิธี ทดลอง ชาวบ้านร่วมกันเก็บข้อมูล & ตีความข้อมูล ชาวบ้านนำไปใช้เปลี่ยนวิถีชีวิต นักวิจัยทำหน้าที่ พี่เลี้ยง / คุณอำนวย นักวิจัยทำหน้าที่บันทึก และเขียนรายงาน วิจัยชาวบ้าน / วิจัยท้องถิ่น

KM โรงเรียนชาวนา มูลนิธิข้าวขวัญ วิจัยในการปฏิบัติ วิจัยเพื่อเรียนรู้ เอาความรู้ไปลองปฏิบัติ เรียนรู้ร่วมกันผ่านการปฏิบัติ มีการสร้าง “ ความรู้ ” (actionable knowledge) มากมาย การวิจัยกับการใช้ประโยชน์ เป็นสิ่งเดียวกัน

กระบวนการแผนแม่บทชุมชน เป้าหมายคือสร้างความเข้มแข็ง ในการพึ่งตนเอง ลดหนี้ พออยู่ พอกิน ร่วมกันเก็บข้อมูลหาปัญหา ทำ ความเข้าใจข้อมูล ร่วมกันระบุปัญหาที่จะแก้ และ วิธีการแก้ ลงมือดำเนินการในระดับ ครัวเรือน และระดับชุมชน นำผลมา ลปรร. กันทุกเดือน อย่างสม่ำเสมอ เก็บตัวเลขประเมินผลทุกปี หรือตามที่กำหนด การวิจัยกับการใช้ประโยชน์ เป็นสิ่งเดียวกัน

กระบวนการแผนแม่บทชุมชน เป้าหมายคือสร้างความเข้มแข็ง ในการพึ่งตนเอง ลดหนี้ พออยู่ พอกิน ร่วมกันเก็บข้อมูลหาปัญหา ทำ ความเข้าใจข้อมูล ร่วมกันระบุปัญหาที่จะแก้ และ วิธีการแก้ ลงมือดำเนินการในระดับ ครัวเรือน และระดับชุมชน นำผลมา ลปรร. กันทุกเดือน อย่างสม่ำเสมอ เก็บตัวเลขประเมินผลทุกปี หรือตามที่กำหนด

เริ่มที่กระบวนการตั้งโจทย์ R&D นักวิจัยรวบรวมปัญหา และ ความรู้ ผู้ใช้มาร่วมตั้งโจทย์วิจัย บอกความต้องการ / ปัญหา ของตน ปัญหาส่วนหนึ่งได้รับการแก้ – ปัญหามี ค. แต่เข้าไม่ถึง : K Access วิจัยประยุกต์ใช้ ค. : Translational R

เริ่มจากความต้องการของผู้ใช้ + ค ที่มีอยู่แล้ว กำหนดโจทย์วิจัยเป็นชุด เชิญผู้ใช้ (& นักวิจัย ) มา วิจารณ์ ว่าตรงความต้องการ หรือไม่ เชิญร่วมลงทุนวิจัย หรือร่วมทำ วิจัย เชิญเป็น steering committee

เริ่มจากความต้องการของผู้ใช้ + ค ที่มีอยู่แล้ว กำหนดโจทย์วิจัยเป็นชุด เชิญผู้ใช้ (& นักวิจัย ) มา วิจารณ์ ว่าตรงความต้องการ หรือไม่ เชิญร่วมลงทุนวิจัย หรือร่วมทำ วิจัย เชิญเป็น steering committee

Low Risk, Low Investment, Low Yield

High Risk, High Investment, High Yield

Researchers-Driven Research Researchers-Initiated R Publication ( & Patent) - Oriented R ต้องปีนข้ามหุบเหวแห่ง R&D Basic R – R&D – Engineering ( ต้นแบบ ) – Mass Production – Further Improvement / New Version นักวิจัยใจประยุกต์ รู้ความต้องการของผู้ใช้ : ศ. ดร. สุทธวัฒน์ เบญจกุล

Researchers-Driven Research มีความสูญเปล่าสูง ใช้เวลานานกว่าจะไปสู่การใช้ประโยชน์ WHO จึงส่งเสริม K Translation Research เพราะต้องปรับ ค. ให้เหมาะสมต่อแต่ละ สถานการณ์ ที่จริง R&D เกือบทั้งหมดเป็น KTR Need – Led R&D เป็น KTR

นักวิจัยวิชาการใจประยุกต์ ศ. ดร. สุทธวัฒน์ เบญจกุล อุตสาหกรรมเกษตร รศ. นพ. สุภมัย สุนทรพันธ์ โรคเบาหวาน รศ. ดร. กัญชลี เจติยานนท์ ม. นเรศวร สาขาเกษตร ผศ. ดร. หมุดตอเล็บ หนิสอ มวล. วิจัยด้าน พลาสม่า ฟิสิกส์ มีการประยุกต์ใช้ด้าน การเกษตรและสิ่งแวดล้อม

Commercialization of Research เป็นประเด็นวิจัย ทดลองหารูปแบบ มากมาย IPM Unit : เสาะหา IP, ลงทะเบียน, จดทะเบียน IPR, เร่ขาย, เจรจาสิทธิ์ & ค่าปัญญา, เชื่อมโยงทุนกับ เทคโนโลยี Science Park : I-U R Lab, Incubator, -- อนุญาตให้ อจ., นศ. ตั้งบริษัทโดยใช้ facilities ของมหาฯ เปิดหลักสูตร นศ. มาจากธุรกิจ และ นักวิจัย จัดแข่งขันทำ Business Plan ตั้งบริษัทร่วมลงทุน : บริษัทสตางค์

การคืนความรู้ให้ ชุมชน ทำวิจัยชุมชน เก็บข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ เขียน รายงาน จัดประชุมคืนความรู้ให้แก่ ชุมชน เรียนและรู้จากวังน้ำเขียว : การ วิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วน ร่วม / นลินี กังศิริกุล เขียน ; ปรีชา อุยตระกูล บรรณาธิการ

วิจัยชุมชน นำเสนอ เป็นละคร ทำวิจัยประวัติศาสตร์ชุมชน รายงานต่อแหล่งทุนเป็น เอกสาร รายงานต่อชุมชนเป็นละคร เกิดความเข้มแข็งของชุมชน

วิจัย People Mapping แผนที่คนดี ทุกคนมีดี คุยกับทุกคน สรุปให้ดู อ่าน ฟัง ( ถ่ายรูป ) ติดป้ายตามย่านชุมชน ปลุกกระแสชุมชน ชวนกันคิดทำกิจกรรม สร้างสรรค์ชุมชน

สรุป : การนำผลการวิจัย ไปใช้ประโยชน์ อนาคตเริ่มเมื่อวันวาน การใช้ผลงานวิจัยเริ่มตั้งแต่ ยังไม่ได้ทำวิจัย ต้องใช้ความรู้เป็นเครื่องมือ ในการใช้ผลงานวิจัย ใช้ปลาเล็กตกปลาใหญ่ ผู้ใช้ความรู้ที่ดีที่สุดคือผู้เป็น “ นักวิจัย ”