Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
Advertisements

Health Promotion & Prevention
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร และพัฒนาโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
จังหวัดสุพรรณบุรี. วันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๕ เขต มอบนโยบายการจัดทำแผน สุขภาพเขต การประชุมระดับเขต ครั้งที่ ๑ วันที่ ๑๓ – ๑๔ ธันวาคม ๒๕๕๕ แบ่งการ ดำเนินงานออกเป็น.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ข้อ Comment โครงการ Teenaqe Mother จากผู้ตรวจราชการ 1. การสร้างความเข้าใจ และประสานความ ร่วมมือกับองค์กรภาคี - define บทบาทให้ชัดเจน ตีบทให้แตก แจก บทให้ผู้เกี่ยวข้องและสร้างความเข้าใจ.
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
การพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ข้อเสนอการพัฒนา รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 3
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
รักษาราชการแทนปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปการประชุม เขต 10.
ดร.นพ.พิทักษ์พล บุณยมาลิก ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
คำรับรองการปฏิบัติ ราชการ กรมอนามัย ปี 2549 จำนวน 20 ตัวชี้วัด.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ทีม นำ “ การนำที่มั่นคง และยั่งยืน ”. “ บางครั้ง การยอมถอยซักก้าว เราจะเห็นทะเลที่ใหญ่ และท้องฟ้าที่สดใสกว่าเดิม ”
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
การวางแผนยุทธศาสตร์.
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
การทบทวนแผนยุทธศาสตร์สำนักอนามัย 4 ปี เพื่อเชื่อมโยงสู่การปฏิบัติ ในหน่วยงานระดับสำนักงาน/กอง สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการบริหารจัดการสุขภาพ ปี 2557 โดย นายแพทย์วรงค์ รุ่งเรือง นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ 1. ระบบบริการที่พร้อมทำ บริการ , มาตรการ , มาตรฐาน , ครอบคลุม , เข้าถึง , เท่าเทียม ตอบสนองความต้องการ และมีประสิทธิภาพ 2. คุ้มครองความเสี่ยงด้านการเงินจากบริการสุขภาพ 3. พฤติกรรมเสี่ยง , ปัจจัยเสี่ยง , สิ่งแวดล้อมเสี่ยง ลดลง

แนวทางการบริหารจัดการสุขภาพ ปี 57 Input Process Output Outcome Impact นโยบาย กระทรวงสาธารณสุข นโยบายเขต นโยบายจังหวัด ปัจจัยภายนอก กระบวนการจัดการ 6 Building Block 6 component system government 6 Key function PDCA Cycle PESTEL , SWOT , 7’S ทฤษฎีการนำองค์กรที่เกี่ยวข้อง

6 Building Block 1. การส่งมอบบริการ 2. กำลังคน 3. ระบบข้อมูล 4. เวชภัณฑ์ , เครื่องมือ , เทคโนโลยี 5. การเงินการคลัง 6. Leadership & governance (การนำองค์การบริหารจัดการ)

การบริหารจัดการ (Governance) - มองภาพรวม - ออกแบบระบบ - ชี้นำนโยบายและยุทธศาสตร์ - มาตรการกำกับงาน - ประสานเครือข่าย - รับผิดชอบต่อสาธารณะ

6 Key function - Surveillance - Monitor and Evaluation (M&E) - Research and Development (R&D) - People Protection - Health system support - Funder Alliance

ขั้นตอนการประยุกต์ใช้ 1. กำหนดเจ้าภาพในการขับเคลื่อนระบบ ผู้บริหาร ผชช.ว. จบส. ผชช.ส. ฝ่ายที่รับผิดชอบ งานพัฒนาคุณภาพ , งานสนับสนุนยุทธศาสตร์ฯ งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล , งานทรัพยากรบุคคล , งานนิติการ งานพัฒนายุทธศาสตร์ งานคุ้มครองผู้บริโภค งานประกันสุขภาพ , งานบริหาร , งานสนับสนุนยุทธศาสตร์ฯ ระบบบริการ กำลังคน ข้อมูล เวชภัณฑ์ฯ การเงินการคลัง

2. กำหนดลักษณะงานให้มีความสอดคล้องกับบทบาทของฝ่ายที่เกี่ยวข้อง งานบริการ - งานส่งเสริมสุขภาพ , งาน NCD , งานควบคุมโรค , งานทันตสาธารณสุข , งานแพทย์แผนไทยฯ งานพัฒนาคุณภาพ , มาตรฐานบริการ - งานพัฒนาคุณภาพบริการ , งานสนับสนุนยุทธศาสตร์ฯ , งานอนามัยสิ่งแวดล้อมฯ , งานคุ้มครองผู้บริโภค , งานรักษาพยาบาล งานพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ และลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ - งานสุขศึกษา , สุขภาพภาคประชาชน , งานคุ้มครองผู้บริโภค , งานอนามัยสิ่งแวดล้อมฯ งานสนับสนุนระบบ - งานพัฒนายุทธศาสตร์ฯ , งานบริหาร , งานประกันสุขภาพ , งานนิติการ , งานทรัพยากรบุคคล , งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล , งานสนับสนุนยุทธศาสตร์ฯ

3. กำหนดเป้าหมายให้ชัดเจน เช่น กลุ่มวัย , กลุ่มป่วย , กลุ่มเสี่ยง , กลุ่มปกติ , เครือข่ายประชาชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (ระดับจังหวัด , ระดับอำเภอ , ระดับตำบล)

4. สร้างระบบงานที่เน้นความเป็นเอกภาพ ไม่ซ้ำซ้อน เน้นความเชื่อมโยง เจ้าของงาน (PPM1) (Project manager จังหวัด) DPM1 (Project manager อำเภอ) ผู้ปฏิบัติ ผู้ปฏิบัติ ผชช. หน.ฝ่าย DPM2 PPM2 PPM3 DPM3 ผู้ปฏิบัติในพื้นที่ สสอ. , ผอ.รพ. เป็นการบริหารจัดการที่ระบบตั้งแต่ ทำแผน , จัดงบประมาณ , ควบคุมกำกับติดตาม และประเมินผล (One person , One project , One Budget)

5. กำหนดกิจกรรมในแต่ละสายการทำงานให้มีความต่อเนื่องจนถึงกลุ่มเป้าหมาย จากนั้น กำหนดบทบาทให้ชัดว่าใครรับผิดชอบ (4 W 1 H) หมายเหตุ - บางสายการทำงานอาจยุติเพียงระดับ สสอ. หรือ รพ. ก็ได้ (ขึ้นกับลักษณะกิจกรรม) - ในบางกิจกรรมที่ไม่ใช่ปัญหาของ รพ.สต. หรือสิ่งที่ รพ.สต. ไม่มีความจำเป็น ก็อาจยุติเพียงระดับ สสอ. , รพ. เช่นกัน

6. จุดเน้น 1. ถ้า เขต.ฯ มานิเทศจังหวัดควรเน้นในเรื่องกระบวนการทำงาน , การควบคุมกำกับก่อนแล้วจึงตามด้วยผลงานตามตัวชี้วัด 2. ระดับจังหวัดเน้นการ Monitoring (ควบคุมกำกับ) เป็นหลัก , การนิเทศติดตามถือเป็นเรื่องรอง

7. ในระยะเปลี่ยนผ่านนี้ขอให้เน้น งานที่เป็นนโยบาย กระทรวง , เขตฯ ก่อน (โดยเฉพาะงานที่เกี่ยวข้องกับตัวชี้วัดทุกตัว)

สรุปแนวทางเป็นแผนภูมิ (การนำและการอภิบาลระบบ) Input Impact นโยบายรัฐบาล นโยบายกระทรวงสาธารณสุข นโยบายเขตฯ นโยบายจังหวัด ปัจจัยภายนอกที่เกี่ยวข้อง การขับเคลื่อนระบบสาธารณสุข (6 Building Block) Tool อื่นๆ (ตามหน้า2) สายงาน 1 สายงาน 2 สายงาน... Output Outcome Leadership and governance (การนำและการอภิบาลระบบ) นพ.สสจ.

สวัสดี