ชื่อเรื่อง. ผลการติดตามลักษณะการมีงานทำ ภายใน 1 ปี ชื่อเรื่อง ผลการติดตามลักษณะการมีงานทำ ภายใน 1 ปี ของผู้สำเร็จการศึกษา ระดับ ปวช. 3 และ ปวส .2 ประจำปีการศึกษา 2554 ชื่อผู้วิจัย นางวัชรวีร์ ฐิติวุฒิธนาศิริ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ปัญหาการวิจัย ต้องการทราบผลการติดตามลักษณะการมีงานทำ ภายใน 1 ปี ของผู้สำเร็จการศึกษา ระดับ ปวช. 3 และ ระดับ ปวส .2 ประจำปีการศึกษา 2554 ของวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาถึงลักษณะภาพรวมของการติดตามผู้สำเร็จการศึกษา ระดับ ปวช.3 และ ปวส.2 ประจำปีการศึกษา 2554 ที่ได้งานทำ ภายใน 1 ปี ของวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ตารางสรุปผล ตารางที่ 1 จำนวนและร้อยละของนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษา จำแนกตามเพศ และช่วงอายุ เพศ จำนวน (คน) ร้อยละ ชาย 362 49.86 หญิง 364 50.14 รวม 726 100.00 ช่วงอายุ 19 - 25 ปี 676 93.11 26 - 35 ปี 48 6.61 36 - 45 ปี 1 0.14 46 ปี ขึ้นไป
ตารางที่ 2 จำนวนและร้อยละของนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษา ตารางที่ 2 จำนวนและร้อยละของนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษา จำแนกตามการมีงานทำ การมีงานทำ จำนวน (คน) ร้อยละ ศึกษาต่อ 473 65.15 ทำงานและศึกษาต่อ 100 13.77 ว่างงาน 99 13.64 ทำงาน 54 7.44 รวม 253 100.00
ตารางที่ 3 จำนวนและร้อยละของนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษา ตารางที่ 3 จำนวนและร้อยละของนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษา จำแนกตามประเภทของงาน ประเภทของงาน จำนวน (คน) ร้อยละ พนักงานบริษัท/องค์กรธุรกิจเอกชน 119 77.27 ข้าราชการ/เจ้าหน้าที่ของรัฐ 33 21.43 ประกอบอาชีพอิสระ/เจ้าของกิจการ 2 1.30 รวม 154 100.00
อัตราเงินเดือน จำนวน (คน) ร้อยละ ต่ำกว่าเกณฑ์ 104 67.53 สูงกว่าเกณฑ์ ตารางที่ 4 จำนวนและร้อยละของนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษา จำแนกตามเงินเดือนเริ่มต้นเป็นไปตามเกณฑ์ อัตราเงินเดือนใหม่ข้าราชการ วุฒิ ปวช. – ปริญญาเอก ตั้งแต่ 1 มกราคม 2555 ของกระทรวงการคลัง (ปวช. เริ่มต้น 7,620 บาท - ปวส. เริ่มต้น 9,300 บาท/เดือน) อัตราเงินเดือน จำนวน (คน) ร้อยละ ต่ำกว่าเกณฑ์ 104 67.53 สูงกว่าเกณฑ์ 49 31.82 เท่ากับเกณฑ์ 1 0.65 รวม 154 100.00
สรุปผลการวิจัย นักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาในปี 2554 พบว่า - ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 50.14 - มีอายุระหว่าง 19 ถึง 25 ปี ร้อยละ 93.11 - ศึกษาต่อ ร้อยละ 65.15 ทำงานและศึกษาต่อ ร้อยละ 13.77 และได้งานทำ ร้อยละ 7.44 (ว่างงาน ร้อยละ 13.64) - ทำงานเป็นพนักงานบริษัท ร้อยละ 77.27 - ได้รับเงินเดือนต่ำกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 67.53
ประโยชน์ที่ได้จากการศึกษาวิจัย 1. นำไปพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน 2. พัฒนานักศึกษาให้มีความรู้ ความสามารถ มีทักษะ มีความชำนาญ ในแต่ละสาขาวิชา
จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ