สถานการณ์อหิวาตกโรคจังหวัดขอนแก่น ก.ย. 2550

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
Advertisements

การประเมินการใช้ยา Nimesulide (Nidol)
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
สถานการณ์ความยากจน ของประเทศไทย
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
การประสานงานและแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่างศูนย์วิชาการเขต กรมควบคุมโรคมี SRRT การจัดทีมระดับเขต นโยบาย – การติดตามสถานการณ์ – สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ในคน – จัดทีม.
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
โดย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เลย เพชรบูรณ์ หนองบัวลำภู
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 31 กรกฏาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 19 สิงหาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์ โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัด สุรินทร์ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
สถานการณ์ไข้เลือดออก จังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม –19 เมษายน 2551 สัปดาห์ที่ 16_ปี2551 ต่อแสนประชากร เขตตรวจราชการ.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552_ 13 มิถุนายน 2552 สัปดาห์ที่ 23 ปี 2552 ต่อแสนประชากร ที่มา.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม มกราคม สัปดาห์ที่ 2 ปี 2553 ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552 _ 18 มกราคม 52 สัปดาห์ที่ 2_ปี2552 ต่อแสนประชากร ที่มา :
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 10 พฤศจิกายน 2550 ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ปี 2550 (1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2550) ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
กราฟที่ 1 อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 13 ตุลาคม 2550 ต่อแสนประชากร.
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา พื้นที่รับผิดชอบ สคร. ที่ 6 ขก. ปี 2549 ( ณ สัปดาห์ 26 )
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม 2553–26 มิถุนายน 2553 สัปดาห์ที่ 25 ปี 2553 ต่อแสนประชากร ที่มา.
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
กราฟที่ 1 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ที่ 10 และ 12 ณ สัปดาห์ที่ 29 ( ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
การพยากรณ์โรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ปี 2556
ประชุมผู้บริหารกรม ทรัพยากรน้ำ ครั้งที่ 4/2550 วันศุกร์ที่ 27 เมษายน 2550 เวลา น.
ไข้เลือดออก.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
แหล่งที่มา : ณ 30 มค 50.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มีนาคม มีนาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
การประชุม “โครงการพัฒนาศักยภาพด้านระบาดวิทยาและทีม SRRT จังหวัดนครปฐม”
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดอุดรธานี วันที่ 20 กันยายน 2553
1. เสือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2551 Darunee Phosri :
ระบาดวิทยาและ SRRT.
การใช้ระบาดวิทยาเพื่อแก้ไขปัญหาที่ต้นเหตุ (กรณีการสอบสวนอหิวาตกโรค)
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกประเทศไทย ปี 2556
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ธันวาคม 2553 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
สาขาโรคมะเร็ง.
การดำเนินการควบคุมป้องกันโรคคอตีบ(Diphtheria) อ.ด่านซ้าย
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
สถานการณ์โรคที่สำคัญ ในเขตบริการสุขภาพที่ 11
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กุมภาพันธ์ 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่ เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัด สิงห์บุรี
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถานการณ์อหิวาตกโรคจังหวัดขอนแก่น 17-11 ก.ย. 2550 ความเป็นมา เมื่อวันที่ 23-25 กันยายน 2550 สำนักระบาดวิทยาได้รับรายงานสถานการณ์ผู้ป่วยโรคอุจจาระร่วงจากเชื้อ Vibrio cholera Eltor Ogawa จากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น จำนวน 8 ราย และเพิ่มเป็นจำนวน 12 รายในวันที่ 28 กย. 2550 และผลความไวต่อยา Norfloxacin เป็นแบบปานกลาง รายงานสรุปสถานการณ์ประจำวันตั้งแต่วันที่ 23-30 กันยายน 2550 มีจำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 25 ราย ผู้ป่วยรายแรกเริ่มป่วยวันที่ 17 กันยายน 2550 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น, สำนักป้องกันและควบคุมโรคเขต6 และ SRRT ในพื้นที่ร่วมกันสอบสวนและควบคุมโรคตั้งแต่วันที่ 19 กันยายน 2550 สำนักระบาดวิทยาออกติดตามสถานการณ์ร่วมกับทีมในพื้นที่วันที่ 3-11 ตุลาคม 2550

จำนวนผู้ป่วยอหิวาตกโรค จังหวัดขอนแก่น จำแนกตามเดือน เทียบกับค่าเฉลี่ยของ 5 ปีย้อนหลัง 2

ผลการสอบสวน จำนวนผู้ติดเชื้อ 229 ราย จำนวนผู้ติดเชื้อ 229 ราย ผู้ป่วย 165 ราย Passive case= 135 Active case= 30 คิดเป็นอัตราป่วย 9.33 คนต่อแสนประชากร พาหะ 64 ราย คิดเป็น 27.95 % ของผู้ติดเชื้อ พบผู้ขายอาหาร เป็นผู้ป่วย 9ราย เป็นพาหะ 3 ราย คิดเป็นร้อยละ 5.24% (12/229) ผู้เสียชีวิต 1 ราย CFR = 0.44% (1/165)

จำนวนผู้ป่วย กันยายน ตุลาคม

อัตราป่วยด้วยอหิวาตกโรค ต่อแสนประชากร จังหวัดขอนแก่น จำแนกตามอำเภอ

จำนวนผู้ป่วยอหิวาตกโรค จังหวัดขอนแก่น จำแนกตามเพศและอายุ (n=62)

อัตราป่วยต่อแสนประชากรจำแนกรายตำบล อ.กระนวน จ.ขอนแก่น 17ก.ย.-11ต.ค.50 อัตราป่วยต่อแสนประชากรจำแนกรายตำบล อ.กระนวน จ.ขอนแก่น 17ก.ย.-11ต.ค.50 อัตราป่วยต่อแสนประชากร 261.8

ผลการสอบสวนผู้ป่วยอหิวาตกโรค อ.กระนวน จำนวนผู้ติดเชื้อ 180 ราย ผู้ป่วย 127 ราย Passive case= 104 Active case= 23 คิดเป็นอัตราป่วย 157.5 คนต่อแสนประชากร พาหะ 53 ราย คิดเป็น 29.44% ของผู้ติดเชื้อ พบผู้ขายอาหาร เป็นผู้ป่วย 1ราย เป็นพาหะ 6 ราย คิดเป็นร้อยละ 3.21 % ในผู้ขายอาหารที่ตรวจRSC(218ราย) อัตราผลบวกของการทำRSCในผู้สัมผัสร่วมบ้านและผู้สัมผัสในชุมชนเท่ากับ 3.5% (ทำRSCในผู้สัมผัส 2,160 ราย) อัตราผลบวกของการทำRSCในผู้ที่มีอาการถ่ายเหลวที่มารับการรักษาที่รพ.เท่ากับ 27.96% (จาก RSC 372 ราย) จำนวนผู้ติดเชื้อในเจ้าหน้าที่รพ. 3 ราย จากผู้ทำRSC 119 ราย (2.52%) ผู้เสียชีวิต 1 ราย CFR = 0.79 % จากผู้ป่วยใน 66 ราย มีภาวะ hypovolemic shock 17.8 % ARF 11.1 % sepsis 2.2%

จำนวนผู้ป่วย กันยายน ตุลาคม

ร้อยละของผู้ป่วยจำแนกตามชนิดยาที่ใช้รักษา OPD(n=22) IPD(n=23) norflox Erythro/amoxy Norflox+ cef3 Ampi/ 90.9% (20) 9.1% (2) 43.5% (10) 52.2% (12) 4.2% (1) ร้อยละของผู้ป่วยที่ผลRSC positiveจำแนกตามระยะเวลา หลังได้รับยาปฏิชีวนะ(n=90) ผลRSC ระยะเวลาหลังได้รับยาปฏิชีวนะ(ชม.) 24 48 72 positive 25.8% (25) 15.6% (14) 0.04% (4)

เส้นทางการขนส่งสินค้าและผู้ป่วยรายแรกใน3 อำเภอ ผู้ขายอาหารที่ติดเชื้อ วันสัมผัส สุราษฎร์ธานี ตลาดมหาชัย วันเริ่มป่วย อ.หนองเรือ 16 17 รถเร่ขายในพื้นที่ ____________________________________ หอยแครง อ.เมืองขอนแก่น ตลาดอ.จิระ ตลาดบางลำภู ตลาดรถไฟ ____________________________________ 21 24 อ.กระนวน ตลาดสืบสารคาม (หนองโก) ตลาด อื่นๆ ตลาดคลองถม (ทุกวันศุกร์) ขายก๋วยเตี๋ยวที่บ้าน ขายกับข้าว ตลาดคำขึ้ง

ระบบน้ำประปาชุมชน คลอรีน ประปาผิวดิน= 29 แห่ง ประปาบาดาล= 16 แห่ง แหล่งน้ำดิบ ใส่สารส้ม คลอรีน คลอรีน บ่อน้ำใส

High sensitivity intermediate resistance 100 - Drug sensitivity 41.91 KH N=15 SCI N=31 SH N=3 tetra 100 bactrim norflox 41.91 51.06 oflox - erythro 60 40 ampi 80 20 genta 32.6 64.2 3.22 chloram

การกำหนดนโยบายระดับจังหวัด โดยกำหนดมาตรการในเขตการระบาด ให้ผู้ป่วย Diarrhea ทุกราย ทำ RSC และให้ Norfloxacin ยกเว้น.ในคนที่ตั้งครรภ์ (ให้ Erythromycin) และดำเนินการควบคุมโรคดังนี้ RSC ผู้ประกอบอาหารสดทุกราย: อาหารทะเล ลาบ ก้อย เนื้อ เขียงเนื้อ ยำ กุ้งฝอย ส้มตำปลาร้า ปูดอง ติดตามผล RSC ของข้อ 1 ถ้า positive จึงจ่ายยา ผู้สัมผัส ผู้ป่วย ครัวเรือน ทานอาหารร่วมกัน RSC และจ่ายยา โดยไม่ต้องรอผล (จนครบ 3 วัน) กรณีนี้ใช้ระยะเวลา 10 วันหลังสัมผัส ผู้สัมผัสอาหารเสี่ยง (ไม่ใช่ กลุ่ม 3) ภายใน 5 วัน ให้ RSC และจ่ายยา กรณี 4 แต่มากกว่า 5-10 วัน RSC แต่รอผล lab ถ้าพบ Positive จ่ายยา ทุกรายที่จ่ายยา ให้มีบันทึก กำกับ ติดตาม การกินยาจนครบ 3 วัน

สิ่งที่พื้นที่อำเภอกระนวนได้ดำเนินการ กำหนดทีมผู้รับผิดชอบ บทบาทหน้าที่ งานที่ต้องดำเนินการ การดำเนินงานในเชิงรับ - ปรับหอผู้ป่วยหญิงเป็นหอผู้ป่วยติดเชื้อ ควบคุมการเข้าเยี่ยม มีน้ายาม่าเชื้อก่อนเข้าและออก มีป้ายเตือน และข้อปฏิบัติตนป้องกันการติดเชื้อ -ปรับปรุงระบบการสอบสวนโรคและฐานข้อมูล - ติดตามทำRSCผู้ติดเชื้อและติดตามการกินยา การดำเนินงานในเชิงรุก - ทำ active case finding -สำรวจแหล่งน้ำประปาประสานควบคุมระดับคลอรีนตกค้าง - ให้ความรู้ผ่านทางสื่อ ได้แก่ ป้ายประกาศ รถกระจายเสียง สถานีวิทยุกระจายเสียง วิทยุชุมชน ประชุม War room ทุกวัน หัวหน้าทีมปฏิบัติการทุกทีม เวลา 10.00 น. รายงานสถานการณ์ ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน ปัญหาและวางแผนการปฏิบัติงาน