การจัดการมูลฝอยอันตราย ในโรงพยาบาล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
PAIBOONKIJ SUPPLY LIMITED PARTNERSHIP
Advertisements

ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์
การจัดการของเสีย โดยวิธีทำให้เป็นก๊าซชีวภาพ
โดย วราภรณ์ ถาวรวงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ ศูนย์อนามัยที่๑.
หลักการจัดการขยะมูลฝอย ขยะติดเชื้อ และขยะอันตราย
 หลักทั่วไปในในการป้องกันและควบคุม อันตรายจากสภาพแวดล้อมในการทำงาน #
นโยบายและแนวทาง การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ ของกรุงเทพมหานคร
สถานการณ์และนโยบายการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ
ปิโตรเลียมและผลิตภัณฑ์
ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
สารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
10วิธีลดภาวะโลกร้อน จัดทำโดย
สารกัดกร่อน.
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
บทที่ 1 แหล่งพลังงานไฟฟ้า.
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
การผลิตไฟฟ้าจากขยะ โดยการฝังกลบขยะมูลฝอย
มาตรฐานสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
การจัดหาน้ำสะอาด อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
เรียนรู้ดูประสบการณ์จริง
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
1) สุขลักษณะของสถานที่ตั้งและอาคารผลิต 1.1 ที่ตั้งและสิ่งแวดล้อม 1.2 อาคารผลิต • บริเวณผลิต • พื้น ฝาผนัง และเพดาน • ระบบระบายอากาศและแสงสว่าง • การป้องกันแมลง.
หลักสูตรการอบรมครูผู้ดูแลเด็ก
การล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล
G Garbage.
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันที่ใช้ทอด
การเก็บตัวอย่างและนำส่งตัวอย่าง ทางห้องปฏิบัติการด้านอาหาร
โรคอุจจาระร่วง.
อุตสาหกรรมฟอกหนัง ผลิตภัณฑ์จากหนัง งานตกแต่ง สี ขัด อัดหนัง
อุตสาหกรรมหล่อหลอมโลหะ
อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม การแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์
v v v อุตสาหกรรมผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องเรือน เครื่องใช้ไม้
ผลิตเป็นเม็ดพลาสติกสี
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
การจัดการส้วมและ สิ่งปฏิกูลหลังภาวะน้ำลด
ในภาวะน้ำท่วมและหลังน้ำลด
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
การจัดการความรู้ เรื่อง การใช้สารชีวภัณฑ์แทนการใช้สารเคมี
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
1.ใช้ถ่านไฟฉายที่สามารถบรรจุไฟได้ใหม่
การกำจัดขยะโดยใช้หลัก 3R
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไข้หวัดนก / ไข้หวัดใหญ่ในสถานพยาบาล
Globally Harmonized System : GHS
การจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
กิจกรรมลดปริมาณขยะก่อนทิ้งในวิทยาลัย
สื่อการเรียนรู้เรื่อง หยุดโลกร้อนด้วยความพอเพียง
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
การฝึกงานใน โรงงานอุตสาหกรรม
มาตรฐานการสุขาภิบาลอาหาร สำหรับโรงอาหาร
สถานที่ปรุง ประกอบ จำหน่ายอาหาร
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
โลกร้อน!!ครับ ภาวะโลกร้อน คือ การที่ อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มขึ้นจากภาวะเรือน กระจก หรือที่เรารู้จักกันดีในชื่อ ว่า Green house effect ซึ่งมีต้นเหตุจากการที่มนุษย์
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
COMMUNITY BASED SOLID WASTE MANAGEMENT
มารู้จัก “ขยะมูลฝอย” กันเถอะ
บทที่ 8 การใช้ประโยชน์จากผลพลอยได้และเศษเหลือทิ้ง
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ประเภทโครงการหรือกิจกรรม ลำดับที่ ๘ โรงงานถลุงหรือหลอมเหล็ก
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
สิ่งคุกคามสุขภาพในโรงพยาบาล และปัญหาที่พบแต่ละแผนก
กระบวนการจัดการมูลฝอย การฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล
มลภาวะ (pollution).
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการมูลฝอยอันตราย ในโรงพยาบาล

การจำแนกประเภทมูลฝอย มูลฝอยจากชุมชน มูลฝอยเกษตรกรรม มูลฝอยอุตสาหกรรม มูลฝอยอันตราย ถ่านไฟฉาย หลอดไฟฟ้า สารเคมี มูลฝอยทั่วไป มูลฝอยอันตราย เป็นพิษ ติดไฟง่าย มีฤทธิ์กัดกร่อน ปฏิกิริยารุนแรง มีเชื้อโรค สารกัมมันตภาพรังสี มูลฝอยทั่วไป เศษอาหาร กระดาษ พลาสติก มูลฝอยสำนักงาน ฯลฯ มูลฝอยอันตราย สารเคมีปราบศัตรูพืช และสัตว์ ปุ๋ย ภาชนะบรรจุ ฯลฯ มูลฝอยทั่วไป เศษหญ้า,ฟาง เศษวัชพืช เศษไม้,ใบไม้ ย่อยสลายง่าย เศษอาหาร เศษผัก,ผลไม้ ย่อยสลายยาก แก้ว ผ้า โลหะ หนัง พลาสติก ฯลฯ

การจำแนกประเภทมูลฝอยในโรงพยาบาล มูลฝอยอันตราย เป็นพิษ ติดไฟง่าย มีฤทธิ์กัดกร่อน ปฏิกิริยารุนแรง สารกัมมันตภาพรังสี มีเชื้อโรค มูลฝอยทั่วไป เศษอาหาร กระดาษ พลาสติก มูลฝอยสำนักงาน ฯลฯ มูลฝอยติดเชื้อ มูลฝอยรีไซเคิล

แหล่งกำเนิดมูลฝอยอันตราย ในโรงพยาบาล ห้องปฏิบัติการ ห้องผ่าตัด แผนกพยาบาล แผนกซักรีด คลีนิคทันตกรรม ฝ่ายซ่อมบำรุง แผนก x-ray แผนกยา ห้องเก็บศพ

มูลฝอยอันตรายในโรงพยาบาล ปรอท และบรรจุภัณฑ์ที่มีสารปรอทเป็นส่วนประกอบ รวมถึงเศษสิ่งตกค้างที่เหลือจากการใช้งาน หรือหล่น เช่น สารละลายฟิล์ม X-Ray

มูลฝอยอันตรายในโรงพยาบาล X-Ray Film ประกอบด้วยโลหะหนัก เช่น silver หรือโลหะอื่นๆ

มูลฝอยอันตรายในโรงพยาบาล สารละลาย เช่น Ethanol, formaldehyde/ethanol solutions

มูลฝอยอันตรายในโรงพยาบาล สารเคมีที่เหลือจากห้องปฏิบัติการ, ห้องวิเคราะห์ (สารละลาย, กรด, เบส, ฯลฯ.)

ยา Chemotherapy

มูลฝอยอันตรายในโรงพยาบาล ขยะ เศษวัสดุเหลือใช้ สี และสารเคมีทำความสะอาด หลอดฟลูออเรสเซนต์, high-intensity discharge (HID), หลอดนีออน, หลอดโซเดียมความดันสูง (high pressure sodium), และ metal halide lamps แบตเตอรี่

ตัวอย่างหลอดไฟที่เป็นวัตถุอันตรายในโรงพยาบาล high-intensity discharge (HID) high pressure sodium lamp

ตัวอย่างหลอดไฟที่เป็นวัตถุอันตรายในโรงพยาบาล metal halide lamps

มูลฝอยอันตรายในโรงพยาบาล คอมพิวเตอร์/จอ แผ่นวงจร และอุปกรณ์อื่นๆที่ประกอบด้วยสารตะกั่ว จอที่ใช้หลอดรังสีแคโทด (cathode ray tube :CRT) ถังแก๊สอัดความดัน สารติดไฟ ยาฆ่าแมลง, ยากำจัดเชื้อรา, ฯลฯ.

Specific Hospital Hazardous Wastes อุปกรณ์ที่มีส่วนประกอบของปรอท ในห้องคนไข้ ปรอทวัดไข้ เครื่องวัดความดัน Nursing Incubators เครื่องควบคุมอุณหภูมิ แบตเตอรี่

Specific Hospital Hazardous Wastes อุปกรณ์ที่มีส่วนประกอบของปรอท ในห้องเก็บของและฝ่ายซ่อมบำรุง สารต้านการเยือกแข็ง สารทำความสะอาด น้ำยากำจัดไขมัน (Degreasers)

Specific Hospital Hazardous Wastes อุปกรณ์ที่มีส่วนประกอบของปรอท ในห้องเก็บของและฝ่ายซ่อมบำรุง สารกันบูด (Preservatives) ตัวทำละลาย (Solvent) อุปกรณ์เสื่อมสภาพ สี

Specific Hospital Hazardous Wastes อุปกรณ์ที่มีส่วนประกอบของปรอท ในห้องรักษา/ห้องผ่าตัด Merthiolate Mercury Nitrate Mercury Iodide Mercurochrome Thimerosal

Specific Hospital Hazardous Wastes อุปกรณ์ที่มีส่วนประกอบของปรอท ในห้องรักษา/ห้องผ่าตัด Esophageal Dilators Cantor Tubes Miller Abbot Tubes Feeding Tubes Dental Amalgam

การจัดการขยะอันตราย ในโรงพยาบาล

หลักการพื้นฐาน รีไซเคิล จัดมาตรการความปลอดภัย ให้กับพนักงาน วิเคราะห์ การนำกลับมาใช้ใหม่ แยกแยะและวิเคราะห์ อัตราการเกิดขยะ ตรวจสอบ สถานที่กักเก็บ คัดแยกขยะ ส่งคืนเวชภัณฑ์, สารเคมีที่หมดอายุ รีไซเคิล การบำบัดและกำจัดขยะ ขยะทั่วไปกำจัดร่วมกับขยะเทศบาล การบำบัด การเผา การทำให้ปลอดเชื้อ การห่อหุ้ม การกำจัดขั้นสุดท้าย เผา ฝังกลบ

ขยะอันตรายในโรงพยาบาล สารเคมี และเศษตกค้างในภาชนะบรรจุ เช่น กล่อง กระป๋อง ขวดบรรจุเวชภัณฑ์ ขยะที่ไม่สามารถรีไซเคิลได้ เช่น ถังความดัน สเปรย์ ซึ่งจะเกิดอันตรายเมื่อมีการระเบิด สารกัมมันตภาพรังสี, สารที่ใช้ในคีโมบำบัด

การคัดแยกขยะอันตราย คัดแยกขยะอันตรายที่มีวิธีกำจัดแบบเดียวกันไว้ด้วยกัน ในสถานพยาบาลที่มีการใช้กัมมันตภาพรังสี ต้องมีมาตรการความปลอดภัยอย่างเข้มงวด วัสดุที่มีความคมควรเก็บใส่ถังเพื่อป้องกันอันตราย ใช้การห่อหุ้ม 2 ชั้น เช่นใส่ขยะในถุงพลาสติก แล้วบรรจุในถังคอนเทนเนอร์

(ตัวอย่าง) การคัดแยกขยะในโรงพยาบาล ภาชนะที่ใส่ ประเภท ลักษณะ สีและเครื่องหมาย คุณลักษณะ ขยะติดเชื้อ สำลี, เศษชิ้นส่วน, เนื้อเยื่อ ถังคอนเทนเนอร์ หรือถุงพลาสติก แดง ไม่รั่วซึม เข้าเตาเผาได้ ขยะอันตราย สารกัมมันตภาพรังสี, สารเคมี, ตัวทำละลาย, ปรอท เหลือง ระบุว่า “ขยะอันตราย” วัตถุมีคม เข็ม, มีด กล่องพลาสติก, โลหะ เหลือง ระบุ “วัตถุมีคม” ไม่ทะลุ ขยะทั่วไป เหมือนขยะในครัวเรือนทั่วไป ดำ -

มาตรการความปลอดภัยในการจัดเก็บ และเก็บกัก ผู้จัดเก็บขยะควรแต่งชุดป้องกันอันตราย มีการคัดแยกและจัดเก็บขยะทุกวัน มีสถานที่เก็บขยะอันตรายในห้องเฉพาะ และแยกจากขยะทั่วไป ห่างไกลจากผู้ป่วย และห้องประกอบอาหาร บรรจุถุง, ถังคอนเทนเนอร์ที่มีสัญลักณ์ หรือข้อความบ่งบอกแหล่งที่มา ประเภทขยะ

การลด และรีไซเคิลขยะอย่างปลอดภัย สารเคมี และยา เริ่มต้นด้วยการจัดการด้วยความเข้าใจ และระมัดระวัง เศษสารเคมี หรือยาเหลือใช้ควรเก็บไว้ในภาชนะบรรจุเดิม (ขวด, กระป๋อง, กล่อง) มีมาตรการปฏิบัติที่ถูกต้อง

มาตรการปฏิบัติในการลดขยะสารเคมีและยา มีการจัดการ จัดเก็บ คัดแยก อย่างสม่ำเสมอในปริมาณน้อย แทนที่จะจัดการครั้งเดียวเป็นจำนวนมาก ใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีอายุเก่าก่อนเสมอ เพื่อป้องกันผลิตภัณฑ์หมดอายุ ควรใช้ให้หมด หรือเหลือทิ้งน้อยที่สุด ป้องกันการสูญเสียของผลิตภัณฑ์ เช่น ในตึกผู้ป่วย และระหว่างการทำความสะอาด ตรวจสอบวันหมดอายุผลิตภัณฑ์ในครั้งแรกที่รับเข้ามา

การลด และรีไซเคิลขยะอย่างปลอดภัย ถังความดัน, กระป๋องสเปรย์ รวบรวมกระป๋องสเปรย์ที่ไม่สามารถรีไซเคิลได้ กลับคืนบริษัทผู้ผลิตเพื่อผ่านกระบวนการบรรจุใหม่ ไม่ควรกำจัดโดยการเผา เพราะอาจเกิดการระเบิด และเป็นอันตรายต่อผู้ปฏิบัติงานและระบบเตาเผา

การลด และรีไซเคิลขยะอย่างปลอดภัย ปรอท กรณีอุปกรณ์ที่มีส่วนผสมของปรอท เช่น เทอร์โมมิเตอร์ ปรอทวัดไข้ เกิดการแตกหัก และรั่วไหลของสารปรอท ต้องมีการเก็บสารปรอทให้หมด และรวบรวมไว้เพื่อขายคืนให้กับบริษัทผู้ผลิต

การกำจัด

Pharmaceutical waste การกำจัดในปริมาณน้อย ฝังกลบ ยกเว้นยาที่มีพิษ และสารเสพติด บรรจุในถังโลหะ รวมกับเข็ม, มีด บำบัดในระบบบำบัดน้ำเสีย สำหรับยาบางชนิด เช่น สารละลายวิตามิน, ยาแก้ไอ, สารละลายที่ใช้สำหรับหลอดเลือด, ยาหยอดตา ยกเว้น ยาปฏิชีวนะ หรือยาที่มีพิษ เผาในเตาเผารวมกับขยะติดเชื้อ (ควรมีปริมาณไม่เกิน 1 % ของขยะทั้งหมดที่เข้าเตาเผา เพื่อลดมลพิษทางอากาศ)

Pharmaceutical waste การกำจัดในปริมาณมาก เผาในเตาเผา รวมกับขยะติดเชื้อ และขยะที่เผาไหม้ได้ เช่น ไม้ กระดาษ ในอุณหภูมิไม่ต่ำกว่า 1,000 oC เพื่อกำจัดก๊าซพิษ บรรจุในถังโลหะ กรณีเป็นขยะของแข็ง ของเหลว และกึ่งแข็งกึ่งเหลว การฝังกลบ (เป็นวิธีที่ไม่แนะนำ) ควรเป็นระบบฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล และบรรจุยาใส่ถังโลหะปิดฝา เพื่อป้องกันการรั่วซึมสู่น้ำใต้ดิน

Genotoxic Waste Cytotoxic waste http://www.medscape.com/viewarticle/559896_3

Cytotoxic waste เป็นขยะที่มีความเป็นอันตรายสูง (เช่น ยาหมดอายุ, ยาที่ไม่ได้ใช้งานแล้ว) และไม่ควรกำจัดในบ่อฝังกลบ หรือทิ้งลงสู่ท่อระบายน้ำ หรือระบบบำบัดน้ำเสีย วิธีกำจัด ส่งคืนบริษัทผู้ผลิต สำหรับสถานพยาบาลที่ไม่มีระบบเตาเผา โดยบรร จะลงภาชนะบรรจุเดิม เผาในอุณหภูมิสูง (1,000 – 1,200 0C) ลดความเป็นพิษ (Chemical degradation) โดยทำปฏิกิริยากับสารอื่น เช่น ออกซิเดชั่นกับโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนส (KMnO4) หรือกรดซัลฟุริก (H2SO4)

Chemical waste กำจัดในบ่อฝังกลบ รวมกับขยะเทศบาล สำหรับ สารที่ไม่สามารถรีไซเคิลได้ เช่น เกลือ, น้ำตาล, กรดอะมิโน ไม่ควรระบายลงสู่แหล่งน้ำ โดยเฉพาะ น้ำมัน, ตัวทำละลาย, ถ่านแก๊ซ (calcium carbide) หากมีปริมาณไม่มากสามารถเผาใตเตาไพโรไลซีส, บรรจุถังโลหะ และฝังกลบ การเผา หากมีปริมาณมากๆ อาจเกิดความยุ่งยาก และมีส่วนผสมของคลอรีน ฟลูออรีน เนื่องจากจะเกิดก๊าซพิษ เว้นแต่เตาเผามีระบบกำจัดก๊าซที่ดีพอ ส่งคืนบริษัท หรือสถาบัน, เอกชนที่มีความเชี่ยวชาญในการจัดการ

ขยะที่มีโลหะหนัก ไม่ควรกำจัดโดยการเผา เช่น ขยะที่มีส่วนผสมของ ปรอท แคดเมียม เนื่องจากจะเกิดการสะสมในบรรยากาศ ในดิน และแหล่งน้ำ รวบรวมส่งไปโรงงานรีไซเคิล ส่งกำจัดยังศูนย์รับกำจัดขยะอันตราย ส่งคืนบริษัทผู้ผลิต (โดยทำข้อตกลงไว้ตั้งแต่เบื้องต้น)

ถังความดัน, กระป๋องสเปรย์ ไม่ควรใช้วิธีเผา วิธีที่ดีที่สุดคือการรีไซเคิล และใช้ซ้ำ โดยการเติมก๊าซใหม่สำหรับผลิตภัณฑ์บางประเภท ควรทำสัญญาซื้อขายโดยระบุวิธีการส่งคืนสินค้า ถังที่มีสภาพดี ควรส่งคืนบริษัทผู้ผลิต เช่น ไนตรัสออกไซด์ เอธิลีนออกไซด์ ออกซิเจน, ไนโตรเจน, คาร์บอนไดออกไซด์, ไฮโดรเจน, ไซโคลโพรเพน, ก๊าซปิโตรเลียม (สำหรับการทำอาหารและให้ความร้อน) และอะเซทิลีน (สำหรับเชื่อมโลหะ)

มูลฝอยเคมีบำบัด มูลฝอยประเภทนี้จะมีความเป็นพิษสูง ไม่ควรนำไปฝังกลบหรือทิ้งลงสู่ระบบบำบัดน้ำเสีย การกำจัดมูลฝอยเหล่านี้ มีดังนี้ นำส่งคืนบริษัทผู้ผลิต เผาในเตาเผาที่มีอุณหภูมิสูง การย่อยสลายด้วยสารเคมี ทั้งนี้การกำจัดมูลฝอยเคมีอันตรายที่มีปริมาณมาก ประเภทที่ติดไฟได้ อาจจะนำมาเผาในเตาเผา หากยังไม่มีเตาเผาที่มีประสิทธิภาพเพียงพอ ควรจะให้บริษัทที่ได้รับอนุญาตให้กำจัดมูลฝอยอันตรายเป็นผู้ดำเนินการ หรือส่งคืนไปยังบริษัทผู้ผลิต ซึ่งต้องมีข้อตกลงกันก่อนซื้อสารเคมีชนิดนั้น มูลฝอยเคมีอันตรายที่มีองค์ประกอบแตกต่างกัน ควรเก็บแยกจากกัน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปฏิกิริยา ไม่ควรทิ้งลงสู่ระบบบำบัดน้ำเสีย ไม่ควรนำไปฝัง เนื่องจากจะปนเปื้อนแหล่งน้ำ

สำหรับมูลฝอยอันตรายประเภทถ่านไฟฉาย หลอดฟลูออเรสเซนต์จะมีการแยกออกมาต่างหากเพื่อรอส่งเทศบาล มูลฝอยประเภทน้ำยาล้างฟิล์มจะเก็บไว้เพื่อรอจำหน่าย

Reference Lisa Papetti, Environmental Engineer U.S EPA – Hazardous Waste Regulatory Update