เก็บตกคำถามจาก สมศ..

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
Advertisements

การสร้างห้องเรียนคุณภาพ
“ศกร.กศน.ในต่างประเทศที่มีคุณภาพ ”
การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
วาระที่ 3.6 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานเกี่ยวกับตัวชี้วัด (กพร.)
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
การปฏิบัติและจัดการงาน ให้มีประสิทธิภาพ
ชื่อตัวบ่งชี้ : 6.1 ร้อยละของหลักสูตรที่ได้ มาตรฐานต่อหลักสูตรทั้งหมด 1. จุดอ่อน 1. ยังมีเนื้อหาของบางรายวิชาในแต่ละหลักสูตร เกิดความซ้ำซ้อน 2. การจัดลำดับความสำคัญของรายวิชาในแต่ละ.
เพื่อรับการประเมินภายนอก
เกล็ดเล็กเกล็ดน้อย ในการประเมินรอบสาม
ข้อมูลสภาพปัจจุบัน ปัญหา
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
ผู้อำนวยการสถานศึกษา ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
แล้วต้องทำอย่างไร ?.
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร และบริบทของสถานศึกษา
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
การจัดเตรียมข้อมูลเชิงปริมาณ การประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ผลการดำเนินงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
Self-Assessment Report
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
สรุปการประชุม เขต 10.
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
สรุปกิจกรรมการประชุมวันที่ 6 ตุลาคม 2553
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล
การลดต้นทุนการผลิตพืช ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
๑. ด้านบริหารจัดการสถานศึกษา
และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
Paradigm Workshop by Dr. Prapon Phasukyud
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
การบริหารวิชาการและการเรียนการสอน
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
คำนึง อุยตระกูล กศน.อำเภอบ้านไผ่
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จังหวัดอุดรธานี
มีคุณธรรม นำวิชาการ สู่มาตรฐานสากล
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
หลักการเขียนโครงการ.
หน่วยที่ 3 การจัดทำรายงานการประเมิน
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
หลักสูตรประวัติศาสตร์ท้องถิ่น จำรัส เพชรทับ
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เก็บตกคำถามจาก สมศ.

คำถาม ที่มาของ วิสัยทัศน์ ปรัชญา อัตลักษณ์ เอกลักษณ์ สอดคล้องกับ SAR/แผนพัฒนา/ แผนปฏิบัติการปี 53-55 สอดคล้องกันอย่างไร โครงการในแผน สอดคล้องกับแผน/พันธกิจ หรือไม่ และมีการทำโครงการต่อเนื่อง หรือไม่ ตัวบ่งชี้ในแผนมีผลเป็นอย่างไร เชิงปริมาณ เป้าและผลในแต่ละปีสอดคล้องกัน หรือไม่

คำถาม มีแผนนิเทศหรือไม่ มีผลการนิเทศหรือไม่ และเราติดตามอย่างไร มีการบันทึก หรือไม่ ผลของการนิเทศเป็นอย่างไรบ้าง เรานำผลไปพัฒนางานหรือไม่ นำไปแก้ แล้วมีหลักฐานยืนยันหรือไม่ว่าเป็นอย่างไร ที่มาของโครงการได้มาอย่างไร มีใครเข้าร่วมบ้าง ใครเป็นผู้อนุมัติแผนและโครงการ มีอะไรบ่งบอกว่าโครงการนั้นสำเร็จ แผนการศึกษาของจังหวัดสอดคล้องกับแผน กศน.หรือไม่

มีหลักสูตรสถานศึกษาหรือไม่ และได้มาอย่างไร (มี โดยการร่วมประชุมกับเครือข่าย คณะกรรมการสถานศึกษา และลงนามโดยผอ.กศน.อำเภอ) มีการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาหรือไม่ (มี โดยจัดตั้งคณะกรรมการพัฒนา หลักสูตร) มีการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาหรือไม่(มี โดยจัดตั้งคณะกรรมการพัฒนา หลักสูตร) คณะกรรมการสถานศึกษามีส่วนร่วมหรือไม่(มี คณะกรรมการสถานศึกษา)

วิธีได้มาอย่างไร (โดยวัยวุฒิ ผู้นำชุมชน ตัวแทนผู้ปกครอง ตัวแทนศิษย์เก่า สรรหา) ครูวิเคราะห์หลักสูตรหรือไม่ อย่างไร (มีการวิเคราะห์หลักสูตรร่วมกับผู้เรียนโดยดู รายละเอียดว่าสอดคล้องกับหลักสูตรหรือไม่) ครูทำแผนการสอนอย่างไร ร่วมกับใครบ้าง มีการบันทึกหลังสอนหรือไม่ (มี ทำ ร่วมกับผู้เรียน กับคณะกรรมการสถานศึกษา จะมีการบันทึกหลังแผนการสอนเสมอ ถึงปัญหาที่ได้รับ มีการทำวิจัยสื่อบ้างหรือไม่ (มี โดยให้วิจัยเป็นรายบุคคลว่ามีความเข้าใจกับสื่อการ เรียนการสอนนั้นๆ สรุปผล)

มีการนิเทศตามกลุ่มผู้เรียนหรือไม่ (มี คณะกรรมการติดตามประเมินผลอยู่แล้วเดือน ละ 2 ครั้ง) มีการสอนเสริมหรือไม่ ใครเป็นผู้สอนตอนไหน (มี ครูที่สอนต้องจบตามสาขา รายวิชานั้นๆ สอนในวันที่ไม่มีการเรียนการสอน) มีการประเมินผล/ความพึงพอใจของผู้เรียนหรือไม่ (มี ประเมินก่อนเรียน ระหว่าง เรียน หลังเรียน โดยมีแบบทดสอบ กรต.สัมภาษณ์แบบสอบถาม)

คุณมีการจัดทำเวทีชาวบ้านหรือไม่ ขออนุญาตหรือไม่ ทำวันที่เท่าไร จำนวนผู้ร่วม กิจกรรมเท่าไร จบเท่าไร หลักสูตรได้มาอย่างไร มีใครจัดทำหลักสูตรบ้าง มี ชาวบ้านหรือไม่ ทำไมจึงจบเท่านี้ คนที่ไม่จบคุณทำอย่างไร ติดตามผู้ไม่จบ อย่างไร คุณแก้ปัญหาผู้ไม่จบอย่างไร แล้วคุณนำปัญหาไปแก้อย่างไร มีคำสั่ง หรือไม่ มีการรายงานผลแต่ละกิจกรรมหรือไม่ และสรุปรวมประจำปี มีสรุประดับ ความพึงพอใจหรือไม่ ได้มาอย่างไร ในแต่ละงานแต่ละกิจกรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีกี่คน แหล่งการเรียนรู้เท่าไร สอดคล้องกันอย่างไร การศึกษาตามอัธยาศัยจัด อย่างไร สอดคล้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่นแหล่งการเรียนรู้ ประชาชนนำไปพัฒนา ตนเองอย่างไร

(มี การทำเวทีชาวบ้าน ขออนุญาตเปิดจัดทำหลักสูตร มีคณะผู้จัดทำ ผู้จบ หลักสูตรมีการติดตามแนะแนว มีการเชื่อมโยงภูมิปัญญาท้องถิ่นกับแหล่งเรียนรู้ มีการรายงานผลแต่ละกิจกรรมและสรุปเป็นรายปีของกิจกรรม มีการสำรวจความ พึงพอใจและสรุป มีการนิเทศติดตามและรายงานผล)

มีแผนพัฒนาบุคลากร หรือไม่ ประชุมทุกครั้งมีการจัดทำวาระการประชุม บันทึกการประชุมหรือไม่ มีการสรุปว่าในแต่ละปีบุคลากรได้รับการพัฒนาตนเองกี่ครั้ง บุคลากรมีการใช้เทคโนโลยีอะไรบ้างในการปฏิบัติงาน การพัฒนาบุคลากร มีโครงการรองรับในแผนประจำปีหรือไม่ สรุปผลการใช้บริการแหล่งเรียนรู้ เช่น มีแหล่งเรียนรู้อะไรบ้าง ที่ตั้งที่ไหน ใช้ บริการกี่ครั้งต่อสัปดาห์ สรุปข้อมูลภูมิปัญญา แต่ละตำบล มีภูมิปัญญาอะไรบ้าง กี่คน ชื่ออะไร ที่อยู่และ จำนวนครั้งที่ใช้บริการ มีโครงสร้างบริหารหรือไม่

การประกันคุณภาพภายในได้ดำเนินการและเตรียมการอย่างไร มีการพัฒนาคุณภาพภายในหรือไม่ อย่างไร มีการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน จุดที่ต้องพัฒนาในสถานศึกษาหรือไม่ อย่างไร ได้มีการนำผลในส่วนที่ต้องพัฒนาในรายงานการประเมินตนเอง ไปพัฒนา ปรับปรุงอย่างไร คำสั่งคณะกรรมการประกันคุณภาพภายใน คำสั่งคณะกรรมการติดตามผล มีคำสั่งซึ่งปรากฏอยู่ในแฟ้มคำสั่งงานประกันคุณภาพสถานศึกษา

การรายงานประเมินตนเอง มีการรายงานให้ชุมชน และกรรมการ สถานศึกษาทราบหรือไม่/อย่างไร