การคำนวณหาค่าคงที่สมดุล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
สมดุลเคมี.
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
ลิมิตและความต่อเนื่อง
H จะเข้าที่ C ที่มี H มากกว่า และ X จะเข้าที่ C ที่มี H น้อยกว่า
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
2NO 2 = N 2 O 4 ความเข้มข้น เวลา N2O4N2O4 NO ความเข้มข้น เวลา N2O4N2O4 NO ความเข้มข้น เวลา N2O4N2O4 NO ทดลองเพื่ออะไร.
เลขฐานต่าง ๆ อ.มิ่งขวัญ กันจินะ.
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
ความสัมพันธ์ระหว่าง DG กับ อุณหภูมิ
โจทย์ 1. x + y + 2z + 3w = 13 x - 2y + z + w = 8 3x + y + z - w = 1
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
การทดลองที่ 1 การหาความดันไอและความร้อนแฝง ของการเกิดไอของน้ำ
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
We well check the answer
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
บทที่ 1 อัตราส่วน.
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
Lab 2: การใช้ MATLAB สำหรับการสร้างแบบจำลองเพื่อวิเคราะห์
การตวง ความหมายของการตวง -    การตวง    คือ    การวัดปริมาณของสิ่งของต่างๆหรือหาความจุของภาชนะต่างๆ เครื่องตวง -    เครื่องที่เป็นมาตรฐาน    เช่น   
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
Introduction to Digital System
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
CS Assembly Language Programming Period 30.
Internal Force WUTTIKRAI CHAIPANHA
ทบทวนอสมการกำลัง1. ทบทวนอสมการกำลัง1 การหาเซตคำตอบของอสมการ ตัวอย่าง.
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
เศษส่วน.
ดังนั้นในสารละลายมี H3O+ = 5x10-5 mol
การแตกตัวของกรดแก่-เบสแก่
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์
ความสัมพันธ์เวียนบังเกิด
กฎหมายเกี่ยวกับการขนส่ง
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
การตรวจวัดน้ำมันเชื้อเพลิง ณ คลังน้ำมันฯ
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
การเติมน้ำกรด ใช้น้ำกรดที่มีค่าความถ่วงจำเพาะอยู่ระหว่าง ใส่น้ำกรดลงในทุกช่องแบตเตอรี่จนถึงระดับ UPPER ตั้งแบตเตอรี่ทิ้งไว้ในร่มประมาณ 0.5.
สมดุลเคมี Chemical Equilibrium
ตัวอย่างที่ 2.4 วิธีทำ. สมมติให้พนักงานดังกล่าวดำเนินการแต่งตัวเพื่อไปทำงานเป็นดังนี้ ตัวอย่างที่ 2.4 วิธีทำ.
สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
การเร่งโครงการ Expedite Project.
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
วงรี ( Ellipse).
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 3 เลขยกกำลัง เนื้อหา ความหมายของเลขยกกำลัง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ตอนที่ ๒ เรื่องการวิเคราะห์โนด
การหาเซตคำตอบของสมการ ค่าสัมบูรณ์
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การคำนวณหาค่าคงที่สมดุล หลักการคำนวณหาค่าคงที่สมดุลและความเข้มข้นของแต่ละสารที่ ภาวะสมดุล 1. จะต้องเขียนสมการเคมีจากโจทย์ให้ถูกต้องและทำสมการให้สมดุลเสียก่อน ดังนี้ N2(g) + 3H2(g) 2NH3(g) 2. เขียนค่าคงที่สมดุลจากสมการในข้อ 1 ให้ถูกต้อง K =

3. หาความเข้มข้นของแต่ละสารที่ภาวะสมดุล โดยอาศัยหลักการดังนี้ 3.1 หาจำนวนโมลเริ่มต้น ซึ่งดูจากหัวข้อที่โจทย์ให้มา ทำให้เป็นโมล/ลิตรเสมอ 3.2 หาจำนวนโมลที่เปลี่ยนไป ซึ่งดูจากสมการ และให้จำนวนโมลที่สลายออกเป็นลบ ส่วนจำนวนโมลที่เกิดขึ้นเป็นบวก 3.3 หาจำนวนโมลที่ภาวะสมดุล ซึ่งเกิดจากข้อ (3.1) และ (3.2) ดังนี้

A + 2B 3C + D โมล/ลิตร เริ่มต้น a b – – โมล/ลิตร เปลี่ยน -x -2x +3x +x โมล/ลิตร สมดุล (a – x) (b – 2x) 3x x หมายเหตุ ความเข้มข้นของสาร [ ] ต้องทำเป็น โมล/ลิตรเสมอ

1. ระบบหนึ่งประกอบด้วย PCl3 (g) PCl5 (g) และ Cl2 (g) เมื่อทำ พบว่าที่ภาวะสมดุลมี PCl5 เข้มข้น 1.5 โมล/ลิตร PCl3 เข้มข้น 0.2 โมล/ลิตร และ Cl2 0.3 โมล/ลิตร จงคำนวณหาค่าคงที่สมดุล วิธีทำ K = = = 0.04 โมล/ลิตร

2. เมื่อนำ H2 และ I2 อย่างละ 1 โมลใส่ลงในภาชนะจุ 10 ลิตร ที่ 5200C และปล่อยให้ถึงภาวะสมดุล พบว่าที่ภาวะสมดุลทีมี HI อยู่ 1.60 โมล ให้คำนวณหาค่า K วิธีทำ สมมติให้ X เป็นจำนวนโมลของ H2 ที่ใช้ไป ซึ่งเท่ากับจำนวน โมลของ I2 ที่ใช้ไป H2 (g) + I2 (g) 2HI (g) เริ่มต้น 1 1 0 โมล โมลที่เปลี่ยน -x -x +2x โมล ที่สมดุล 1-x 1-x +2x โมล

โจทย์กำหนดให้โมล HI ที่มีอยู่ในภาวะสมดุลเท่ากับ 1.60 โมล/10 ลิตร หรือ 0.16 โมล/ลิตร = 2x คำนวณหาค่า x ได้เท่ากับ 1.60 = 2x x = 0.8 โมล H2 และ I2 ที่เหลืออยู่ที่ภาวะสมดุล = 1.00 - x = 1.00 - 0.8 = 0.20 โมล/ปริมาตร 10 ลิตร หรือ = 0.02 โมล/ลิตร

จาก K = = = 64

3. ให้พิจารณาระบบของปฏิกิริยาต่อไปนี้ N2 (g) + O2 (g) 2NO (g) K = 0.10 ที่ 20000C กำหนดจำนวนโมลของ N2 เท่ากับจำนวนโมลของ O2 เท่ากับ 1.62 โมล บรรจุอยู่ในภาชนะ 2.00 ลิตร จงหาความเข้มข้นของ N2 O2 และ NO ที่เปลี่ยนไป วิธีทำ สมมติให้ค่าจำนวนโมลที่ N2 ใช้ไปเท่ากับ x โมล N2 (g) + O2 (g) 2NO (g) เริ่มต้น 1.62 1.62 0 โมล โมลที่เปลี่ยนไป -x -x +2x โมล ที่สมดุล 1.62 - x 1.62 - x +2x โมล

K = 0.10 = = = x = 0.22

ดังนั้น N2 ถูกใช้ไป = 0.22 โมล [N2] = = 0.116 โมล/ลิตร O2 ถูกใช้ไป = 0.22 โมล [O2] = = 0.116 โมล/ลิตร NO ที่เกิดขึ้น = 2 x 0.22 โมล[NO] = = 0.22 โมล/ลิตร

4. ภาวะสมดุลของปฏิกิริยา N2 (g) + O2 (g) 2NO (g) K = 0.10 พบว่า [N2] = [O2] = 0.70 โมล/ลิตร และ [NO] = 0.22 โมล/ลิตร เมื่อเติมก๊าซ N2 ลงไป จนกระทั่งความเข้มข้นของ N2 เป็น 1.00 โมล/ลิตร ให้ คำนวณความเข้มข้นของสารทั้ง 3 ตัวที่ภาวะสมดุลใหม่ วิธีทำ สมมติให้ค่าจำนวนโมลที่ N2 ใช้ไปเท่ากับ x โมล N2 (g) + O2 (g) 2NO (g) เริ่มต้น 0.70 0.70 0.22 โมล/ลิตร เมื่อเติม N2 +1.00 0.70 0.22 โมล/ลิตร โมลที่เปลี่ยนไป -x -x +2x โมล/ลิตร ที่สมดุล 1.00 - x 0.70 - x 0.22+2x โมล/ลิตร

K = 0.10 = (0.22+2x)2 = 0.10(1.00-x) (0.70-X) 0.0484 + 0.88x + 4x2 = 0.10(0.70 - 1.70x + x2) 3.90x2 + 1.05x - 0.0216 = 0 x = = 0.22 หรือ -0.29 ค่าลบใช้ไม่ได้ ดังนั้น x = 0.22 โมล/ลิตร

[N2] = 1.00 - x = 1.00-0.02 = 0.98 โมล/ลิตร [O2] = 0.70 - x = 0.70-0.02 = 0.68 โมล/ลิตร [NO] = 0.22+2x = 0.22+(2x0.02) = 0.26 โมล/ลิตร หมายเหตุ การแก้สมการหาค่า x ในสมการข้อนี้ ใช้สมการ ควอดราติก ax2 + bx + c = 0 x =