การพัฒนาองค์กรสตรี กรมการพัฒนาชุมชน ดําเนินการ พัฒนาสตรีมาพร้อม ๆ กับการก่อตั้งกรมฯ ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๐๕ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต สตรี พัฒนาครอบครัว พัฒนาอาชีพ และมี ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยคณะกรรมการ พัฒนาสตรี พ.ศ.๒๕๓๘ เพิ่มเติมฉบับที่ ๒ พ.ศ.๒๕๕๒ และเพิ่มเติมฉบับที่ ๒ พ.ศ.๒๕๕๕ ใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ โดยในระเบียบฯ เน้น การพัฒนาองค์กรสตรี ๕ ระดับ คือ หมู่บ้าน (กพสม.) ตําบล (กพสต.) อําเภอ (กพ สอ.) จังหวัด (กพสจ.) และระดับภาค (กพสภ.) และในระดับประเทศ มีสมาคมผู้นําสตรีพัฒนา ชุมชนไทย ที่เป็นหน่วยประสานเชื่อมโยง องค์กรสตรี ทั้ง ๕ ระดับ และสมาคมผู้นําสตรี พัฒนาชุมชนจังหวัด อีก ๒๕ จังหวัด
กพสภ. คณะกรรมการพัฒนาสตรีภาคเหนือ (17 จังหวัด) คณะกรรมการพัฒนาสตรีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (20 จังหวัด) กพสภ. คณะกรรมการพัฒนาสตรีภาคกลาง (25 จังหวัด) คณะกรรมการพัฒนาสตรีภาคใต้ (14 จังหวัด)
บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการพัฒนาสตรี - สำรวจ/รวมรวม/วิเคราะห์/เสนอปัญหา ความต้องการของสตรี - เสนอแผนงาน/โครงการเพื่อบรรจุไว้ ในแผนระดับต่างๆ - สนับสนุนกิจกรรมในการแก้ไขปัญหา เร่งด่วนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสตรี เด็กและเยาวชน - ประสานงาน/ปฏิบัติงานร่วมกับกลุ่ม องค์กรต่างๆ - ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน - ประชาสัมพันธ์งาน
อดีตเลขาธิการองค์การสหประชาชาติ ไม่มีเครื่องมืออะไรสำหรับการพัฒนาที่จะมีประสิทธิภาพมากไปกว่าพลังของสตรี นายโคฟี อันนัน อดีตเลขาธิการองค์การสหประชาชาติ
ด้านการเมืองการปกครอง กิจกรรมองค์กรสตรี ด้านเศรษฐกิจ พัฒนาเศรษฐกิจฐานราก อาชีพสตรี ผลิตภัณฑ์ชุมชน ทุนชุมชนต่าง ๆ เช่น กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี กทบ. กข.คจ. ออมทรัพย์ ด้านสังคม ส่งเสริมครอบครัวแข็งแรงเพื่อเป็นฐานของสังคมฯ ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด กองทุนแม่ของแผ่นดิน อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อนุรักษ์วัฒนธรรมและประเพณีท้องถิ่น ด้านการเมืองการปกครอง เข้าไปมีส่วนร่วมตัดสินใจทางการเมือง การปกครอง ทั้งในระดับท้องถิ่น และระดับชาติ กิจกรรม วันสำคัญ จัดกิจกรรมวันสำคัญที่เกี่ยวกับ เด็ก สตรี และเยาวชน เช่น วันสตรีสากล วันสตรีไทย วันแม่แห่งชาติ วันกตัญญู วันครอบครัว วันเด็กแห่งชาติ
สวัสดี