ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาระดับ ปวส
Advertisements

ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคตัวต่อ วิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.
ณัฐชนัญ เสริมศรี ผู้วิจัย สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
การใช้ชุดฝึกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่อง กระดาษทำการ 8 ช่อง ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ผู้วิจัย นางสาวจินตนา เชื้อเมืองพาน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ วิชาไมโครคอนโทรเลอร์ โดยใช้สื่อการเรียนการสอนเรื่อง ไมโครคอนโทรลเลอร์ควบคุม 7 Segment สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
ผู้วิจัย น.ส สุนิสา แก้วมา วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่

นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
นางอัชฌา เพ็งพินิจ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สมการกำลังสอง
การพัฒนาผลการเรียนรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และความเข้าใจคงทน
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การสร้างและพัฒนาชุดฝึกทักษะ การแก้โจทย์ปัญหา เรื่อง อนุพันธ์
นางสาวแววดาว วงค์เรือน วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
วิจัย เรื่อง การพัฒนาการเรียนรู้เรื่อง เงินเฟ้อ-เงินฝืด วิชาหลักเศรษฐศาสตร์ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ของผู้เรียน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
***นำเสนอผลงานวิจัย***
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
คณะผู้จัดทำ นาย ชาญชัย คุณยศยิ่ง นาย จีรศักดิ์ ฝั่งมณี
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
ผู้วิจัย นายวราวุฒิ สาริกบุตร วิทยาลัย เทคโนโลยี ศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวอมรรัตน์ ท่วมแก้ว
ชื่อเรื่องวิจัย. การส่งเสริมพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาระดับชั้นปวช
นางสาวนันท์นภัส นาราช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
1. เพื่อเสริมสร้างเจตคติในการส่งงานของ นักศึกษาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ห้อง คธ ส่งเสริมนักศึกษาให้เป็นผู้ตรงต่อเวลาใน การทำงาน 3. เพื่อศึกษาสาเหตุของการไม่ส่งงาน.
นายขวัญชัย ดวงทนัน วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน นาเชียงใหม่ นายชนิศกร ผลศิริ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ นายชนิศกร ผลศิริ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่

ปัญหาการวิจัย ในการจัดการสอน ภาคเรียนฤดู ร้อน ปีการศึกษา 2553 รายวิชาที่เรียน ซ่อมเสริม วิชาธุรกิจทั่วไป ซึ่งรายวิชา ดังกล่าวนักศึกษาต้องศึกษาจาก หนังสือแบบเรียนเอง โดยที่จะมี อาจารย์ประจำวิชาเป็นที่ปรึกษา และ นักศึกษาอาจจะไม่มีความเข้าใจใน เนื้อหาและในการทำแบบฝึกหัด จึงได้ ให้นักศึกษา ศึกษากับโปรแกรม CAI เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ เหมาะสม

วัตถุประสงค์ 1. ผลของการมาติดตามรับงานไปทำเองและการนำ งานทที่สั่งมาส่งตรงตามเวลา และ ความ ถูกต้องของงานที่นำมาส่ง เพราะเป็น แบบเรียนตามศักยภาพ 2. ผลของคะแนนทดสอบย่อยจำนวน 2 ครั้ง - ทดสอบครั้งที่ 1 สอบหลังจากที่ส่งงานแล้วยังไม่ มีการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน - ทดสอบครั้งที่ 2 สอบหลังจากที่ใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนเสร็จสิ้นแล้ว 3. เพื่อสำรวจความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อการใช้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนและแบบเรียน ตามศักยภาพ ว่ามีความเหมาสมต่อการเรียนด้วย ตนเองหรือไม่ 1. ผลของการมาติดตามรับงานไปทำเองและการนำ งานทที่สั่งมาส่งตรงตามเวลา และ ความ ถูกต้องของงานที่นำมาส่ง เพราะเป็น แบบเรียนตามศักยภาพ 2. ผลของคะแนนทดสอบย่อยจำนวน 2 ครั้ง - ทดสอบครั้งที่ 1 สอบหลังจากที่ส่งงานแล้วยังไม่ มีการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน - ทดสอบครั้งที่ 2 สอบหลังจากที่ใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนเสร็จสิ้นแล้ว 3. เพื่อสำรวจความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อการใช้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนและแบบเรียน ตามศักยภาพ ว่ามีความเหมาสมต่อการเรียนด้วย ตนเองหรือไม่

ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ที่ลงทะเบียนเรียนใน รายวิชาซ่อมเสริม ธุรกิจทั่วไป ภาค เรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 สาขาวิชาพณิชยการฯ วิทยาลัย เทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ จำนวน 5 คน โดย แบ่งเป็น ชาย 1 คน และหญิง 4 คน

ตัวแปรที่ทำการศึกษา ตัวแปรต้นแบบฝึกหัดรายวิชาธุรกิจ ทั่วไป โปรแกรมช่วยสอน CAI ธุรกิจ ทั่วไป ตัวแปรตามผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คะแนนที่ได้จากการทำ แบบฝึกหัด ตัวแปรต้นแบบฝึกหัดรายวิชาธุรกิจ ทั่วไป โปรแกรมช่วยสอน CAI ธุรกิจ ทั่วไป ตัวแปรตามผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คะแนนที่ได้จากการทำ แบบฝึกหัด

เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูล 1. แบบเรียนรายวิชาธุรกิจทั่วไป 2. แบบฝึกหัดท้ายบทเรียน จำนวน 10 บท รายวิชา ธุรกิจ ทั่วไป 3. แบบสอบถามผลการใช้โปรแกรม ช่วยสอน CAI กับแบบเรียน ตามปกติ 4. แบบทดสอบย่อย ทั้งก่อนใช้และ หลังใช้โปรแกรมช่วยสอน CAI 1. แบบเรียนรายวิชาธุรกิจทั่วไป 2. แบบฝึกหัดท้ายบทเรียน จำนวน 10 บท รายวิชา ธุรกิจ ทั่วไป 3. แบบสอบถามผลการใช้โปรแกรม ช่วยสอน CAI กับแบบเรียน ตามปกติ 4. แบบทดสอบย่อย ทั้งก่อนใช้และ หลังใช้โปรแกรมช่วยสอน CAI

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลสำคัญ ตาราง ร้อยละของค่าเฉลี่ยของผลการ ทดสอบย่อย ทั้ง 2 ครั้งโดยที่ ครั้งที่ 1 เป็นการ ทดสอบก่อนการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน และครั้งที่ 2 หลังจากที่ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วย สอนใน รายวิชา ธุรกิจทั่วไป แล้ว

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลสำคัญ จะเห็นได้ว่าการสอบครั้งที่ 1 ผลคะแนนของนักศึกษาทั้งหมดคิด เป็น ( ร้อยละ 72) มีผลของคะแนนสอบ อยู่ในระดับดี แต่พอหลังจากการใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เข้ามา มีส่วนช่วย ในการเรียนการสอนแล้วผล การสอบครั้งที่ 2 พบว่า ผลคะแนนของ นักศึกษาทั้งหมด คิดเป็น ( ร้อยละ 86) มีผลของคะแนนสอบอยู่ในระดับดีมาก จะเห็นได้ว่าการสอบครั้งที่ 1 ผลคะแนนของนักศึกษาทั้งหมดคิด เป็น ( ร้อยละ 72) มีผลของคะแนนสอบ อยู่ในระดับดี แต่พอหลังจากการใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เข้ามา มีส่วนช่วย ในการเรียนการสอนแล้วผล การสอบครั้งที่ 2 พบว่า ผลคะแนนของ นักศึกษาทั้งหมด คิดเป็น ( ร้อยละ 86) มีผลของคะแนนสอบอยู่ในระดับดีมาก

สรุปผลการศึกษา ผลการใช้โปรแกรมช่วยสอน ( CAI ) กับแบบเรียนในรายวิชาธุรกิจ ทั่วไป ภาคเรียน ฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 ในการเรียนซ่อมเสริม พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียของนักศึกษา คือทำแบบฝึกหัดทั้ง 10 บทได้ดีขึ้น และผลคะแนนสอบย่อยหลังใช้ โปรแกรมช่วยสอน อยู่ในระดับดีมาก

ภาพประกอบการวิจัย การตอบแบบสอบถาม การทำแบบทดสอบย่อย การตอบแบบสอบถาม การทำแบบทดสอบย่อย