21.5 การเปลี่ยนแปลงแทนที่ 21.5 การเปลี่ยนแปลงแทนที่ ของระบบนิเวศ สิ่งแวดล้อมในธรรมชาติมีการเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา ซึ่งจะมีผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในสิ่งแวดล้อมนั้นๆ ที่จะต้องปรับตัวเพื่อให้ชีวิตอยู่รอดได้
21.5 การเปลี่ยนแปลงแทนที่ 21.5 การเปลี่ยนแปลงแทนที่ ของระบบนิเวศ สิ่งมีชีวิตในสภาพแวดล้อมหนึ่งๆ จะมีการเปลี่ยนแปลงตามลำดับขั้นคือ
21.5 การเปลี่ยนแปลงแทนที่ 21.5 การเปลี่ยนแปลงแทนที่ ของระบบนิเวศ เริ่มจากกลุ่มสิ่งมีชีวิตแบบง่าย ๆ ก่อน แล้วค่อยๆ ซับซ้อนขึ้น ในที่สุดก็จะเป็นกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่เหมาะสม
การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของ ระบบนิเวศ (ecological succession) เรียกปรากฎการณ์นี้ว่า การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของ ระบบนิเวศ (ecological succession) http://library.thinkquest.org/17456/diagram3.html
การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในธรรมชาติจะมี 2 ลักษณะ คือ 1. การเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบ ปฐมภูมิ (primary succession)
เริ่มจากบริเวณที่ปราศจากสิ่งมี ชีวิตมาก่อน จนกระทั่งเกิดสิ่งมีชีวิตกลุ่มแรกคือ พวกมอส และไลเคน เมื่อตายก็จะทับถม กลายเป็นชั้นบางๆ ของดินเกิดขึ้น
ต่อมามีกลุ่มสิ่งมีชีวิตกลุ่มที่ 2 เช่น หญ้าหรือพวกวัชพืชป่า เกิดขึ้นแทนที่ เมื่อตายลงทับถมทำให้ชั้นดินหนาขึ้นเรื่อย ๆ
สิ่งมีชีวิตกลุ่มแล้วกลุ่มเล่าขึ้นมาแทนที่ เช่น ไม้ล้มลุก ไม้พุ่ม จนกระทั่งเป็นสังคมพืชที่ประกอบด้วย กลุ่มพืชชนิดต่างๆ กลายเป็นสังคมสมบูรณ์ (climax community) และมีความสมดุล
การเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบปฐมภูมิ ใช้เวลานานหลายสิบปี กว่าจะถึงสภาวะสมดุล
การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในธรรมชาติจะมี 2 ลักษณะ คือ 2. การเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบ ทุติยภูมิ (secondary succession)
เกิดขึ้นจากกลุ่มสิ่งมีชีวิตเดิมถูกทำลายไป แต่ยังคงมีสิ่งมีชีวิตบางชนิดและสารอินทรีย์ที่สิ่งมีชีวิตต้องการเหลืออยู่ เช่น การเปลี่ยนแปลง แทนที่
บริเวณที่ถูกไฟไหม้ บริเวณที่เคยหักร้างถางพงเพื่อทำไร่แล้วปล่อยให้รกร้างภายหลัง ป่าที่ถูกตัดโค่น
การเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบ ทุติยภูมิใช้เวลาน้อยกว่าแบบ ปฐมภูมิ เนื่องจากดินและสาร อินทรีย์ที่พืชต้องการมีพร้อมอยู่แล้วจึงเกิดการเปลี่ยนแปลงแทนที่ได้ทันที