ระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.2 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Advertisements

แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบการนำเสนอ ส่วนที่ 2 สรุปสาระสำคัญ ส่วนที่ 1 ภาพรวม PMQA
04/04/60 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำงบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
รายงานและการประเมินผล การปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
คำอธิบาย ความสำเร็จของการจัดการข้อมูลสินค้าและบริการ
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
การจัดการองค์ความรู้ การจัดการความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ศูนย์สารสนเทศ.
ส่วนมาตรฐาน/ส่วนวิชา การ/ส่วนวิศวกรรม
RID INNOVATION 2011 ระบบฐานข้อมูล รายงานสถานการณ์น้ำรายวัน สำนักชลประทานที่ 14.
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
1 ก.พ.2550 ห้องประชุมดาวเรือง
คู่มือการใช้งานระบบ DOC รายงานผลการปฏิบัติราชการ
การพัฒนาองค์กร กรมอนามัย เรื่อง PMQA
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ผลการ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
การประชุมคณะกรรมการ และคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
การจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
การประชุมซักซ้อมความเข้าใจ และเตรียมการอบรมการใช้งาน
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
กรอบการนำเสนอ - วิสัยทัศน์ - อำนาจหน้าที่ - โครงสร้างหน่วยงาน
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
การประชุมคณะทำงาน PMQA หมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 10)
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
1 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ณ 8 มิถุนายน 2553.
การพัฒนา PMQA หมวด 4 นางแววตา เรืองนภา ผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร วันที่ 1 กรกฎาคม 2553.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
กรณีความเสี่ยง DMSc.
คำรับรองการปฏิบัติ ราชการ กรมอนามัย ปี 2549 จำนวน 20 ตัวชี้วัด.
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
Road Map KM 2551.
ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า.
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กระบวนการที่สร้างคุณค่า และ กระบวนการสนับสนุน
องค์ความรู้ในกระบวนการพัฒนา ระบบสำนักงานอิเล็กทรอนิกส์ (ระบบการลา)
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต ๑-๑๘
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
การประชุมส่วนงานทส. หมวด 4 การประชุมส่วนงานทส. หมวด 4 (IT 6 แผนพัฒนาระบบบริหารความเสี่ยงของระบบ ข้อมูลและสารสนเทศ ) ครั้งที่ 1/2554 วันจันทร์ที่ 28 กุมภาพันธ์
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย มิติการพัฒนา องค์กร มิติประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ มิติประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ 1. จัดทำนโยบาย.
โดย น. ส. อัญจนา ศรีสวรรค์ กลุ่มบริหารยุทธศาสตร์.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.2 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร IT 1,2,3,4 IT 1,2,3,4 4.2 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 4.1 กระบวนงานพัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ IT 5 4.3 กระบวนงานพัฒนาระบบเฝ้าระวังและเตือนภัยด้านวิชาการ/บริหารจัดการ IT 6 4.4 กระบวนงานบำรุงรักษาและบริหารความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ IT 4 4.5 กระบวนงานการใช้ข้อมูลเพื่อการบริหารงาน IT 2 4.5 กระบวนงานประเมินผลระบบข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร

รายละเอียดกระบวนการ IT 1,2,3,4 1. กระบวนงานพัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ ประชุมผู้รับผิดชอบด้านข้อมูลเพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนาข้อมูล - ทบทวนฐานข้อมูลตามภารกิจกรมอนามัย - รวมรวมความต้องการใช้ข้อมูล และศึกษาการไหลเวียนข้อมูล - วิเคราะห์ข้อมูลและจัดทำมาตรฐานกลางรหัสข้อมูล - จัดการข้อมูลให้ถูกต้อง ครบถ้วน และทันเวลา - ประมวลผลข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการบริหารงาน - นำเสนอผลการดำเนินงาน IT 1,2,3,4 2. กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ศึกษาและรวบรวมความต้องการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จัดทำแผนแม่บทและแผนปฏิบัติการ ICT วิเคราะห์ออกแบบและพัฒนาระบบ ติดตั้ง ทดสอบ และปรับปรุงระบบ อบรมการใช้งาน และนำข้อมูลเข้าสู่ระบบ IT 5 3. กระบวนงานพัฒนาระบบเฝ้าระวัง และเตือนภัยด้านวิชาการ/บริหารจัดการ จัดระดับความสำคัญของตัวชี้วัด กำหนดระบบการติดตาม เฝ้าระวัง และเตือนภัย ด้านวิชาการ และด้านบริหารจัดการ นำเสนอผลการติดตาม เฝ้าระวัง และเตือนภัย ด้านวิชาการ และด้านบริหารจัดการ IT 6 4. กระบวนงานบำรุงรักษาและบริหารความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ จัดทำแผนบำรุงรักษา และแผนป้องกันภัยพิบัติ ICT กำหนดผู้รับผิดชอบและดำเนินการ IT 4 5. กระบวนงานการใช้ข้อมูลเพื่อการบริหารงาน _ พัฒนาฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ - พัฒนาฐานข้อมูลเพื่อให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร IT 2 5. กระบวนงานประเมินผลระบบข้อมูลสารเทศและการสื่อสาร ประเมินการใช้งานข้อมูลและ ICT วิเคราะห์ผลการประเมินฯ และจัดทำรายงาน - นำผลการประเมินมาปรับปรุง

แนวทางการดำเนินงาน IT 2 ส่วนราชการทบทวนฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่าที่จัดทำไว้ในปี 2551 และต้องมีฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของกระบวนการสร้างคุณค่าเพิ่มเติมอย่างน้อย 2 กระบวนการ IT3 ส่วนราชการต้องมีฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของกระบวนการสนับสนุนอย่างน้อย 2 กระบวนการ

ตัวชี้วัดที่ 14.3.3 ร้อยละของการรายงานข้อมูลตามกระบวนการสร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนตามแบบฟอร์มที่กำหนดได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน และทันตามกำหนดเวลา การรายงานข้อมูล ประกอบด้วย 1.ฐานข้อมูลกระบวนการสร้างคุณค่า สิ่งที่ต้องดำเนินการ 1.1 ทบทวนฐานข้อมูลในปี 2551 มี 2 ฐานข้อมูล คือ กระบวนการศึกษาวิจัยและการจัดทำเกณฑ์/มาตรฐาน/หลักสูตร/คู่มือ 1.1.1ฐานข้อมูลงานวิจัยฯ 1.1.2 ฐานข้อมูลวิทยากร

1.2 จัดทำฐานข้อมูลเพิ่มเติมในปี 2552 มี 2 ฐานข้อมูล คือ กระบวนการถ่ายทอดองค์ความรู้ 1.2.1 ฐานข้อมูลผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(ลูกค้า)ที่ถ่ายทอดองค์ความรู้ 1.2.2 ฐานข้อมูลองค์ความรู้ที่ถ่ายทอด 2.ฐานข้อมูลกระบวนการสนับสนุน สิ่งที่ต้องดำเนินการ 2.1 จัดทำฐานข้อมูลในปี 2552 มี 2 ฐานข้อมูล คือ 2.1.1 ฐานข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้าง(งบลงทุน อุดหนุน รายจ่ายอื่น) 2.1.2 ฐานข้อมูลผลการดำเนินงานและการใช้จ่ายงบประมาณ

บทบาทหน้าที่ คณะPMQA หมวด 6 1. กำหนดกระบวนการสร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุนที่ควรพัฒนาในปี 2552 2.แจ้งกระบวนงานที่ควรพัฒนาในปี 2552 ให้คณะPMQAหมวด4 ดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูล

กองแผนงาน 1.ออกแบบฟอร์มฐานข้อมูลกระบวนการสร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุนโดยให้รายงานข้อมูลผ่านระบบคอมพิวเตอร์ 2.ติดตามกำกับการรายงานข้อมูลของทุกหน่วยงานให้ครบถ้วน ถูกต้อง และทันตามระยะเวลาที่กำหนด 3.วิเคราะห์ข้อมูล และจัดทำรายงานเสนอต่อผู้บริหาร

สำนัก/กอง/ศูนย์เขต 1.ทุกหน่วยงานจัดทำข้อมูลตามกระบวนการสร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุนโดยให้รายงานปีละ 1 ครั้ง ภายในเดือนส.ค. 2552 2.ทุกหน่วยงานรายงานข้อมูลแผนงาน โครงการ ผลการดำเนินงาน และผลการใช้จ่ายงบประมาณตามแผนปฏิบัติการของหน่วยงานผ่านระบบศูนย์ปฏิบัติการกรมอนามัย(DOC) เป็นรายไตรมาสภายในวันที่ 5ของเดือน ม.ค. เม.ย.ก.ค. และ ต.ค.

ศูนย์อนามัย ศูนย์อนามัยที่ 1-12 รายงานข้อมูลผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดของกรมอนามัยประจำปี 2552 ผ่านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์(GIS) โดยรายงานข้อมูลเป็นรายไตรมาสภายในวันที่15 ของเดือน เม.ย. ก.ค. และ ต.ค. โดยให้เริ่มรายงานข้อมูลเป็นครั้งแรกในไตรมาสที่ 2

เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัดที่ 14.4.3 ร้อยละของการรายงานข้อมูลฯ 1.ทุกหน่วยงานรายงานข้อมูลถูกต้อง ครบถ้วนภายในระยะเวลาที่กำหนด คือ 1 ครั้งต่อปีภายในเดือนส.ค.52 มี 5 ฐานข้อมูล 1.1 ฐานข้อมูลวิจัยฯ 1.2 ฐานข้อมูลวิทยากร 1.3 ฐานข้อมูลผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่ถ่ายทอดองค์ความรู้

1.4 ฐานข้อมูลองค์ความรู้ที่ถ่ายทอด 1.5 ฐานข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้าง ถ้าหน่วยงานทำได้ครบตามเกณฑ์ ได้คะแนนร้อยละ 50 2.ทุกหน่วยงานรายงานข้อมูลถูกต้องครบถ้วนภายในระยะเวลาที่กำหนด คือรายไตรมาส มี 1 ฐานข้อมูลคือ ฐานข้อมูลผลการดำเนินงานและการใช้จ่ายงบประมาณ

สำนัก/กอง รายงานข้อมูลแผนงาน โครงการ ผลการดำเนินงานและการใช้จ่ายงบประมาณผ่านระบบDOC เป็นรายไตรมาส ภายในวันที่ 5 ของเดือนม.ค. เม.ย. ก.ค ต.ค ถ้าทำได้ครบตามเกณฑ์ ได้คะแนน ร้อยละ 50

ศูนย์อนามัยที่ 1-12 1.รายงานข้อมูลแผนงาน โครงการ ผลการดำเนินงานและการใช้จ่ายงบประมาณผ่านระบบDOC เป็นรายไตรมาส ภายในวันที่ 5 ของเดือนม.ค. เม.ย. ก.ค ต.ค ถ้าทำได้ครบตามเกณฑ์ ได้คะแนน ร้อยละ 25 2.รายงานข้อมูลผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดของกรมอนามัยปี2552เป็นรายไตรมาส ภายในวันที่ 15 ของเดือน เม.ย. ก.ค ต.ค(เริ่มรายงานไตรมาสที่สอง)

หลักฐานที่จำเป็น 1.รายชื่อผลงานวิจัย/ เกณฑ์ / มาตรฐาน /หลักสูตร/ คู่มือ 2.รายชื่อเจ้าหน้าที่ของกรมอนามัยที่ไปเป็นวิทยากรตาม6 ประเด็นยุทธศาสตร์ของกรมอนามัย 3.รายงานผลการจัดประชุมถ่ายทอดองค์ความรู้ 4.รายงานการจัดซื้อจัดจ้างของหน่วยงานจำแนกตามงบประมาณ(งบลงทุน อุดหนุน รายจ่ายอื่น)

Thank you so much Thank you so much