นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
Advertisements

วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ โดย นางสาวพรรัมภา ชูรักษ์
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การใช้วิธีสอนแบบซินดิเคทในการสอนวิชาภาษาไทย
นาย ภัทราวุธ พิชาชญชัย วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิ เทคนิคลานนา เชียงใหม่
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
ปัญหาการวิจัย : 1. การพัฒนาของ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อเป็น แนวทางการศึกษาแบบใหม่ 2. พัฒนาทักษะและชักจูงความสนใจ ของนักศึกษาให้สนใจต่อการเรียน ให้มากขึ้น.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ วิชาไมโครคอนโทรเลอร์ โดยใช้สื่อการเรียนการสอนเรื่อง ไมโครคอนโทรลเลอร์ควบคุม 7 Segment สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้านการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนยีวิมล.
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ
วิจัยประเภทการเรียนการสอน
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวอัญชลี คำแปง วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นายณัฐกร กันทะศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาเครื่องกลไฟฟ้า 1 ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้น ปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนการ สอน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สมการกำลังสอง
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
ผู้เสนอ นายทนงศักดิ์ กุลเสนชัย สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
การสร้างและพัฒนาชุดฝึกทักษะ การแก้โจทย์ปัญหา เรื่อง อนุพันธ์
ผู้วิจัย : นายสิทธิชัย โกเสนตอ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
ผลงานวิจัยในชั้นเรียน โดย นางสาวแสงดาว บัวอินทร์
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
***นำเสนอผลงานวิจัย***
งานวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง พัฒนาการสอนแบบสาธิตร่วมกับการลงมือปฏิบัติเรื่อง การตะไบผิวเรียบเพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อาจารย์ ว่าที่ ร.ต. ศุภกร.
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
คณะผู้จัดทำ นาย ชาญชัย คุณยศยิ่ง นาย จีรศักดิ์ ฝั่งมณี
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การใช้แนวการสอนภาษาที่เน้นคำศัพท์เพื่อส่งเสริมความรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ ความสามารถทางการอ่านและแรงจูงใจของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ Use of Lexical.
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
การพัฒนาทักษะการการปูเตียง ด้วยสื่อมัลติมีเดีย
นางสาวพรสุดา ดอกบัว วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ชื่อเรื่อง ศึกษาผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ การเขียน เรื่องชนิดของคำ วิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวอมรรัตน์ ท่วมแก้ว
ชื่อเรื่องวิจัย. การส่งเสริมพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาระดับชั้นปวช
ชื่อเรื่องวิจัย การศึกษาผลการสร้างประโยค Wh-Questions โดยใช้ฉลากผลิตภัณฑ์ภาษาอังกฤษ ของนักศึกษาระดับประกาศวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการตลาด.
ผู้วิจัย นางสาวนิตญา จุทาชื่น วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ชื่อผู้วิจัย นางปราณี แจ่มสาคร
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการใช้เวอร์เนียร์ไฮเกจ ร่างแบบชิ้นงานโดยใช้ชุดฝึกทักษะ วิชางานฝึกฝีมือ ของนักเรียนช่างไฟฟ้า สาขางานไฟฟ้ากำลัง ชั้นปีที่
วิจัยในชั้นเรียน ผลการใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อแก้ไขพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ในรายวิชาช่างอุตสาหกรรม แผนก ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
นายขวัญชัย ดวงทนัน วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่

ชื่อวิจัย การใช้แบบฝึกโคลซเพื่อเสริมทักษะความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 (ปวช.3) สาขาเทคนิคสถาปัตยกรรม วิทยาลัยเทคโนโลยี โปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่

ปัญหาการวิจัย การเรียนการสอนภาษาอังกฤษในระดับอาชีวะศึกษามักจะประสบกับปัญหาโดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาด้านการอ่านเนื่องจากทักษะการอ่านมีความสำคัญเพราะผู้ที่สามารถอ่านภาษาอังกฤษได้ดี ย่อมจะได้เปรียบในการแสวงหาความรู้จากเอกสารต่างๆได้มากขึ้น และสามารถนำความรู้ที่ได้จากการอ่านมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ผู้วิจัยมีความเห็นว่าการสอนภาษาอังกฤษในระดับอาชีวะ นักศึกษามีทักษะการอ่านไม่ดีเท่าที่ควรผู้วิจัยจึงตระหนักถึงปัญหาและวิธีการแก้ไขปัญหาดังกล่าวโดยการใช้แบบฝึกโคลซมาเป็นแบบฝึกหรือเครื่องมือในการส่งเสริมและพัฒนาทักษะความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษ อันจะเป็นการช่วยพัฒนาทักษะการอ่านให้มีประสิทธิภาพและเป็นพื้นฐานที่ดีต่อการเรียนภาษาอังกฤษในระดับที่สูงต่อไป

วัตถุประสงค์ 1.เพื่อทดลองใช้แบบฝึกโคลซที่สร้างขึ้นเพื่อเสริมทักษะความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษสำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 (ปวช.3) สาขาเทคนิคสถาปัตยกรรม 2.เพื่อเปรียบเทียบคะแนนพัฒนาการความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 (ปวช.3) สาขาเทคนิคสถาปัตยกรรม ก่อนและหลังการฝึกด้วยแบบฝึกโคลซ

ตารางสรุปสาระสำคัญของการทำวิจัย คะแนนพัฒนาการความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษของผู้เรียน ก่อนเรียนมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.03 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 40.3 และค่าเฉลี่ยของคะแนนหลังการเรียนเท่ากับ 8.1 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 81 เมื่อคิดเป็นคะแนนที่เพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ยเท่ากับ 4.7 คะแนน หรือคิดเป็นร้อยละ 40.7 จากนักเรียนจำนวนทั้งหมด 30 คน มีนักเรียนที่มีมีระดับคะแนนพัฒนาการหลังจากได้รับการฝึกด้วยแบบฝึกโคลซ ดังนี้

จากตาราง ผลการวิจัยจึงสรุปได้ว่า ความเข้าใจในการอ่านของผู้เรียนหลังจากได้รับการฝึก โดยใช้แบบฝึกโคลซ สูงกว่าก่อนได้รับการฝึก ผู้เรียนมีคะแนนพัฒนาการความเข้าใจในการอ่านมากขึ้น ผลปรากฏว่ามีนักเรียนที่มีระดับคะแนนพัฒนาการหลังจากได้รับการฝึกด้วยแบบฝึกโคลซ ดังนี้ ระดับคะแนน 1-2 อยู่ในระดับน้อยมาก มีจำนวน 0 คน ระดับคะแนน 3-4 อยู่ในระดับน้อย มีจำนวน 0 คน ระดับคะแนน 5-6 อยู่ในระดับพอใช้ มีจำนวน 2 คน ระดับคะแนน 7-8 อยู่ในระดับดี มีจำนวน 16 คน ระดับคะแนน 10 อยู่ในระดับดีมาก มีจำนวน 12 คน

สรุปผลงานวิจัย 1.นักศึกษามีทักษะความเข้าใจในการอ่านเพิ่มขึ้นหลังจากใช้แบบฝึกโคลซ 2.นักศึกษามีคะแนนพัฒนาการความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้นหลังจากใช้แบบฝึกโคลซ

ผลกระทบหรือประโยชน์ที่ได้จากการศึกษาวิจัย 1. นักศึกษามีพัฒนาการด้านการอ่านที่ดีขึ้น 2. นักศึกษารู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 3. นักศึกษาให้ความสนใจในการอ่านภาษาอังกฤษมากขึ้น

Thank you