กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง กำหนดรายละเอียด หลักเกณฑ์ และ วิธีการขึ้นทะเบียน การออกใบสำคัญ และการต่ออายุใบสำคัญการขึ้น ทะเบียนวัตถุอันตรายที่กรมวิชาการ เกษตรเป็นผู้รับผิดชอบ ( ฉบับที่ 2) พ. ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 27 ธันวาคม 2553
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 2 สรุปสาระสำคัญ เพื่อให้การขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายทาง การเกษตร มีความเหมาะสมและมี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น จึงออกประกาศเพิ่มเติม
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 3 การนำไปปฏิบัติและสิ่งที่ต้อง ตรวจสอบ ข้อ 1 การยื่นคำขอขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายตามข้อ 3 ของ ประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง กำหนดรายละเอียด หลักเกณฑ์ และวิธีการขึ้นทะเบียน การออกใบสำคัญและ การต่ออายุใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายที่กรม วิชาการเกษตรเป็นผู้รับผิดชอบ พ. ศ ประกาศ ณ วันที่ 14 ตุลาคม 2552 ในกรณีวัตถุอันตรายบางประเภท ตามรายการแนบท้ายประกาศนี้ที่ไม่จำเป็นจะต้องทดลอง ข้อมูลบางรายการ ไม่ต้องยื่นข้อมูลตามรายการที่กำหนดไว้ ข้อ 2 ให้วัตถุอันตรายแต่ละชนิดขึ้นทะเบียนสูตร (Formulation) ละไม่เกิน 1 ความเข้มข้นเว้นแต่มีผลการ ทดลองทางวิชาการที่แสดงความแตกต่างในวิธีการใช้ให้ เห็นได้ชัดเจน ตามที่กรมวิชาการเกษตรกำหนด ข้อ 3 ขนาดบรรจุวัตถุอันตรายให้ใช้ระบบเมตริก และให้ กำหนดน้ำหนัก หรือปริมาณสุทธิของวัตถุอันตรายดังนี้ (1) ของแข็ง (1.1) น้ำหนักสุทธิมากกว่า 1 กิโลกรัมขึ้นไป ต้องเป็นจำนวน เต็ม เช่น 2,3,4 หรือ 5 กิโลกรัม เป็นต้น (1.2) น้ำหนักสุทธิตั้งแต่ 50 กรัม ถึง 1 กิโลกรัม ขนาด น้ำหนักสุทธิ คือ 50,100, 250,500 และ 1,000 กรัม (1 กิโลกรัม )
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 4 การนำไปปฏิบัติและสิ่งที่ต้อง ตรวจสอบ (2) ของเหลว (2.1) ปริมาณสุทธิมากกว่า 1 ลิตรขึ้นไป ต้องเป็น จำนวนเต็ม เช่น 2,3,4 หรือ 5 ลิตร เป็นต้น (2.2) ปริมาณสุทธิตั้งแต่ 50 มิลลิลิตร ถึง 1 ลิตร ปริมาณสุทธิ คือ 50,100, 250,500 และ 1,000 มิลลิลิตร (1 ลิตร ) สำหรับวัตถุอันตรายที่นำเข้าจากต่างประเทศที่เป็น วัตถุอันตรายสำเร็จรูปที่ไม่มีการบรรจุใหม่ให้ใช้ ขนาดบรรจุเดิมที่มาจากต่างประเทศได้ ข้อ 4 การส่งออกวัตถุอันตรายในสูตรและความ เข้มข้นที่แตกต่างจากวัตถุอันตรายที่ได้รับการขึ้น ทะเบียนแล้วในประเทศไทย เพื่อการส่งออก จำหน่ายยังต่างประเทศ เมื่อได้รับการขึ้นทะเบียน แล้วใบอนุญาตผลิต นำเข้า และส่งออกจะออกให้ ตามปริมาณที่ผลิต นำเข้า และส่งออก ซึ่งพนักงาน เจ้าหน้าที่จะตรวจสอบปริมาณการผลิต นำเข้า และ ส่งออกวัตถุอันตรายนั้นทุกครั้ง
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 5 การนำไปปฏิบัติและสิ่งที่ต้อง ตรวจสอบ กำหนดประเภทวัตถุอันตรายที่ไม่ต้องส่งข้อมูลบาง รายการตามรายการข้อมูลเพื่อการขึ้นทะเบียนวัตถุ อันตราย แนบท้ายประกาศรกรมวิชาการเกษตร เรื่อง กำหนดรายละเอียด หลักเกณฑ์ และวิธีการ ขึ้นทะเบียน การออกใบสำคัญและการต่ออายุ ใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายที่กรม วิชาการเกษตรเป็นผู้รับผิดชอบ ( ฉบับที่ 2) พ. ศ ผลิตภัณฑสําเร็จรูปที่ไมตองสงขอมูลพิษ เฉียบพลันทางปาก (Acute oral toxicity) 2. ผลิตภัณฑสําเร็จรูปที่ไมตองสงขอมูลพิษ เฉียบพลันทางผิวหนัง (Acute dermal toxicity) 3. ผลิตภัณฑสําเร็จรูปที่ไมตองสงขอมูลการทําให ตาเกิดการระคายเคือง (Eye irritation) 4. ผลิตภัณฑสําเร็จรูปที่ไมตองสงขอมูลการทําให ผิวหนังเกิดการระคายเคือง (Skin irritation)
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 6 การนำไปปฏิบัติและสิ่งที่ต้อง ตรวจสอบ 5. ผลิตภัณฑสําเร็จรูปที่ไมตองสงขอมูลการทําใหเกิดอาการ แพทางผิวหนัง (Skin sensitization) 6. วัตถุอันตรายที่ใชเปนสารรม (fumigant) ทั้งสารชนิดเข มขน และผลิตภัณฑ ใหสงขอมูลพิษเฉียบพลันโดย การ หายใจ (Inhalation toxicity) เทานั้น 7. ผลิตภัณฑสําเร็จรูป ไมตองสงขอมูลพิษเฉียบพลันโดย การหายใจ (Inhalation toxicity) ยกเวน 7.1 ผลิตภัณฑที่เปนกาซหรือ liquified gas 7.2 ผลิตภัณฑที่ใชเปนสารรม (fumigant) 7.3 ผลิตภัณฑที่ใชกับเครื่องพน ชนิด fogging 7.4 ผลิตภัณฑสูตรผสมชนิดผง (Dustable powders, DP) ที่มีขนาดเล็กกวา ๕๐ ไมโครเมตร 7.5 ผลิตภัณฑสูตรผสมชนิด Ultra low volume liquids (UL) 7.6 ผลิตภัณฑที่มีความดันไอมากกวา ๑ x ๑๐ -2 Pa 8. ผลิตภัณฑสําเร็จรูปผลิตจากแหลงผลิตเดียวกัน สูตรผสม ชนิดเดียวกันแต ตางความเขมขน ใชขอมูล พิษวิทยา แทนกันได
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 7 จบการนำเสนอ