แนะนำตัว นางสาวกุสุมา มากชูชิต ชื่อเล่น จูน รหัสนักศึกษา ภาควิชาพัฒนาการเกษตร นักศึกษาชั้นปีที่ 2 คณะทรัพยากรธรรมชาติ ปีการศึกษา 2556 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2 แผนแม่บทอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์ยาง ปี สศอ. ให้ ม. มหิดลจัดทำแผนแม่บทอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยางเพื่อ เป็นแนวทาง / แผนปฏิบัติการในการพัฒนา กำหนดวิสัยทัศน์ อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยางเป็นอุตสาหกรรมหลักของประเทศ สามารถทำ รายได้ให้ประเทศได้ อย่างยั่งยืน อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยางไทยจะขยายใหญ่ขึ้นจน เป็นผู้นำ ในการส่งออกผลิตภัณฑ์ ยางของโลกในระยะ 10 ปีข้างหน้า เป้าหมายของอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยาง 1. ผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็กมีความเข้มแข็ง สามารถ แข่งขันได้ในระดับสากล 2. มีการใช้ยางธรรมชาติในประเทศเพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 10 ต่อปี และมูลค่าการส่งออกผลิตภัณฑ์ยางเพิ่มเฉลี่ยร้อยละ 10 ต่อปี เช่นกัน
แผนแม่บทอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยาง ปี สศอ. ให้ ม. มหิดลจัดทำแผนแม่บทอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์ยางเพื่อเป็นแนวทาง / แผนปฏิบัติการในการ พัฒนา กำหนดวิสัยทัศน์ อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยางเป็นอุตสาหกรรมหลัก ของประเทศ สามารถทำ รายได้ให้ประเทศได้อย่าง ยั่งยืน อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยางไทยจะขยายใหญ่ ขึ้นจนเป็นผู้นำในการส่งออกผลิตภัณฑ์ยางของโลกใน ระยะ 10 ปีข้างหน้า
เป้าหมายของอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยาง 1. ผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็กมีความ เข้มแข็ง สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล 2. มีการใช้ยางธรรมชาติในประเทศเพิ่มขึ้นเฉลี่ย ร้อยละ 10 ต่อปี และมูลค่าการส่งออกผลิตภัณฑ์ยาง เพิ่มเฉลี่ยร้อยละ 10 ต่อปี เช่นกัน
การจัดทำแผนพัฒนายางพาราไทย ( พันธกิจ ข้อที่ 3) กระทรวงเกษตรฯ แต่งตั้งคณะกรรมการศึกษาการปฏิรูประบบการพัฒนา ยางพาราไทย ( มี รมช. เกษตรฯ เป็นประธาน เมื่อวันที่ 28 ส. ค เพื่อ แก้ไขปัญหายางพาราได้อย่างมีระสิทธิภาพ จึงได้กำหนดแนวทางการปฏิรูป ระบบการพัฒนายางพาราไทย ประกอบด้วย 9 พันธกิจ คณะกรรมการฯ แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ กำหนดรูปแบบงานโครงการและ งบประมาณ รวมทั้งแหล่งรายได้ เพื่อจัดทำแผนเสนอ ระยะเวลา 5 ปี ( ) พันธกิจประกอบด้วย 1. ปฏิรูประบบและสถาบันการจัดการยางใหม่ 2. ยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกร และใช้ประโยชน์จากสวนยางเต็มที่ 3. ทำให้เกิดผลิตภัณฑ์ยางที่ได้มาตรฐาน 4. ปฏิรูประบบการวิจัยและพัฒนายาง 5. ปฏิรูประบบตลาดยางทุกด้าน 6. สร้างฐานข้อมูลยางพาราให้ครบถ้วน ถูกต้อง และเชื่อถือได้ 7. สร้างเมืองยาง (rubber city) เพื่อให้เป็นศูนย์กลางของผลิตภัณฑ์ยางพารา 8. ส่งเสริมให้เกษตรกรและวิสาหกิจมีส่วนร่วมทุกด้าน 9. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ภาคธุรกิจมีส่วนร่วมในทุกด้าน 5
การจัดทำแผนพัฒนายางพาราไทย ( พันธกิจ ข้อ ที่ 3) กระทรวงเกษตรฯแต่งตั้งคณะกรรมการศึกษาการ ปฏิรูประบบการพัฒนายางพาราไทย ( มีรมช. เกษตรฯ เป็นประธานเมื่อวันที่ 28 ส. ค.2545 เพื่อแก้ไขปัญหา ยางพาราได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้กำหนดแนว ทางการปฏิรูประบบการพัฒนายางพาราไทย ประกอบด้วย 9 พันธกิจ คณะกรรมการฯ แต่งตั้งคณะอนุกรรมการกำหนด รูปแบบงานโครงการและงบประมาณรวมทั้งแหล่ง รายได้ เพื่อจัดทำแผนเสนอ ระยะเวลา 5 ปี ( )
พันธกิจประกอบด้วย 1. ปฏิรูประบบและสถาบันการจัดการยางใหม่ 2. ยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกร และใช้ประโยชน์จากสวน ยางเต็มที่ 3. ทำให้เกิดผลิตภัณฑ์ยางที่ได้มาตรฐาน 4. ปฏิรูประบบการวิจัยและพัฒนายาง 5. ปฏิรูประบบตลาดยางทุกด้าน 6. สร้างฐานข้อมูลยางพาราให้ครบถ้วน ถูกต้อง และเชื่อถือ ได้ 7. สร้างเมืองยาง (rubber city) เพื่อให้เป็นศูนย์กลางของ ผลิตภัณฑ์ยางพารา 8. ส่งเสริมให้เกษตรกรและวิสาหกิจมีส่วนร่วมทุกด้าน 9. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ภาคธุรกิจมีส่วนร่วมในทุกด้าน