ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วม ของนักศึกษาแกนนำชมรมคนรักสุขภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงงาน เรื่อง การมีเพศสัมพันธ์ก่อนอันสมควร
Advertisements

หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
การดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
สร้างสุขในเยาวชนและครอบครัว ป้องกันปัญหาตั้งครรภ์ในเยาวชน
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านบึง
ห้องเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง
ผลการคัดกรองโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
ข้อมูลสภาพปัจจุบัน ปัญหา
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
การมีส่วนร่วมในสหกรณ์
วัตถุประสงค์การเชื่อมโยงเครือข่าย
ชุมนุม YC.
ชุมนุม YC.
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
วัยทีน วัยใส ใส่ใจ อนามัยเจริญพันธุ์จังหวัดตราด
การดำเนินงานเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและเยาวชน
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
“นโยบายและการบริการภาครัฐสำหรับผู้สูงอายุ”
แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ในภาพรวมของเขต สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 4 จ. ราชบุรี
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การสัมมนาโครงการสร้างอนาคต แพทย์ทหารเรือ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๑ ขั้นตอนที่ ๑ Stake Holder Analysis : การวิเคราะห์ความต้องการของ ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียทั้งหมด ขั้นตอนที่
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
งานกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
ภารกิจการรวมกลุ่มและพัฒนากลุ่ม
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ผลการดำเนินงาน แม่บ้านสาธารณสุข
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
บทบาทอาสาสมัครผู้สูงอายุ
“เยาวชนมีความมั่นคง แข็งแรง ดี มีสุข และสร้างสรรค์”
ผู้วิจัย อาจารย์กัมพล ติปิน วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
ชื่อเรื่อง การศึกษาความสนใจด้านการดูแลสุขภาพตนเองของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ และนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางศิริพร.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ผลการศึกษาการสร้างจิตอาสา ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ด้วยโครงการจิตอาสานอกสถานที่ ปีการศึกษา 2555 นางสาวสุธาริณี วาคาบายาซิ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย.
นางสุพัณณรัฎฐ์ ประชานิยม วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ
นายณัฐกร กันทะศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
การปรับพฤติกรรมความรับผิดชอบในการทำงาน
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
สาขาวิชาการท่องเที่ยว วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการเชียงใหม่
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
โครงการรณรงค์ป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
ชื่อเรื่องวิจัย. การส่งเสริมพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาระดับชั้นปวช
1. เพื่อเสริมสร้างเจตคติในการส่งงานของ นักศึกษาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ห้อง คธ ส่งเสริมนักศึกษาให้เป็นผู้ตรงต่อเวลาใน การทำงาน 3. เพื่อศึกษาสาเหตุของการไม่ส่งงาน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วม ของนักศึกษาแกนนำชมรมคนรักสุขภาพ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ โดย.. นางสาวเบญจภรณ์ บุญธรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ Free Powerpoint Templates

ปัญหาการวิจัย สำหรับชมรมแกนนำคนรักสุขภาพ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่เริ่มจัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2545 โดยนักศึกษามีที่ความสนใจสามารถสมัครเป็นสมาชิก ตั้งแต่การเริ่มจัดตั้งชมรมจนถึงปัจจุบันมีจำนวนทั้งหมด 10 รุ่น ซึ่งจะเปิดรับนักศึกษาสมัครเข้าร่วมชมรมตอนเปิดภาคเรียนที่1ของทุกปีการศึกษา จะมีนักศึกษามาสมัครไม่ต่ำกว่าร้อยละประมาณ 1.97 ของนักศึกษาทั้งหมด (ฝ่ายทะเบียนและวัดผล วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่,2555)

งานสร้างเสริมสุขภาพได้จัดกิจกรรมขึ้นเพื่อให้นักศึกษาได้มีการรวมกลุ่มและพัฒนาศักยภาพของตนเอง มีการสร้างภาวะการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี มีคุณธรรม มีจิตอาสาและรักงานบริการ อีกทั้งยังสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข ผู้ศึกษาจึงสนใจศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วม ระดับและรูปแบบการมีส่วนร่วมของนักศึกษาแกนนำเพื่อพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมภายในและภายนอกวิทยาลัยเทคโนโลยีของนักศึกษาแกนนำชมรมคนรักสุขภาพให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่องและมีความยั่งยืนต่อไป

วัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของนักศึกษาแกนนำชมรมคนรักสุขภาพ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่ 2) เพื่อศึกษาระดับและรูปแบบการมีส่วนร่วมของนักศึกษาแกนนำชมรมคนรักสุขภาพ ในการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา

ในกิจกรรมที่ผ่านมาของนักศึกษาแกนนำชมรมคนรักสุขภาพ ระดับการมีส่วนร่วม ในกิจกรรมที่ผ่านมาของนักศึกษาแกนนำชมรมคนรักสุขภาพ กิจกรรม SD ระดับ การมีส่วนร่วม การจัดประชุม ก่อนและหลังการทำกิจกรรม 3.29 0.92 ปานกลาง 2. วัยใสรักษ์สุขภาพ 3.79 0.90 มาก 3. ปฐมพยาบาลเบื้องต้น 3.57 0.87 4. ค่ายพัฒนาคุณธรรมและสุขภาวะฯ 3.67 0.78 5. วันเอดส์โลก 3.39 0.95 6. ช่วยเหลือเด็กด้อยโอกาส 3.30 0.98

ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมในกิจกรรม ของนักศึกษาแกนนำชมรมคนรักสุขภาพ SD ระดับ การมีส่วนร่วม ปัจจัยภายในที่มีผลต่อระดับการมีส่วนร่วมในกิจกรรม - สนใจอยากรู้ อยากเห็นว่า กิจกรรมเป็นอย่างไร 4.69 0.76 มากที่สุด - สนใจในประโยชน์ที่จะได้รับ จากการจัดกิจกรรมต่าง ๆ 4.51 0.66 ปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อระดับการมีส่วนร่วมในกิจกรรม -เพื่อนๆในกลุ่มแกนนำชมรมคนรักสุขภาพ 0.62 -กิจกรรม ประชุม อบรม เข้าค่ายให้ความรู้ 4.63 0.49

สรุปผลการวิจัย 1.ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมในกิจกรรม พบว่า ปัจจัยภายใน ส่วนใหญ่แล้วเยาวชนต้องการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ อยากพัฒนาชมรมแกนแกนนำคนรักสุขภาพให้มีความเข้มแข็ง ต้องการเป็นที่ยอมรับทั้งในกลุ่มนักศึกษาแกนนำชมรมคนรักสุขภาพและในวิทยาลัยฯ เกิดความภาคภูมิใจจากการได้คิดแผนงานและกิจกรรม และลงมือปฏิบัติด้วยตนเองและงาน มีความสุข สนุกสนาน เมื่อได้ทำกิจกรรม

สรุปผลการวิจัย ปัจจัยภายนอก การเข้ามาร่วมกิจกรรมเป็นเพราะเพื่อนชวนได้เข้ามามีส่วนร่วมตั้งแต่ต้น การได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภายในวิทยาลัยเทคโนโลยี และกลุ่มองค์กรต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ศึกษาจากการเข้าค่ายกิจกรรมภายนอกวิทยาลัย มีผลต่อการเข้าร่วมกิจกรรมมาก หลังจากได้มีการทำกิจกรรมและมีการรณรงค์ในรูปแบบต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง ทำให้นักศึกษา มีการป้องกันตนเองมากขึ้น กล้าที่จะพูด กล้าที่จะซักถาม กล้าที่จะปรึกษา ทั้งอาการและการรักษา จากอาจารย์และเพื่อนนักศึกษาแกนนำฯ ด้วยกัน ในการดูแลรักษาและป้องกันตนเองอย่างเปิดเผยมากขึ้น และนำความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่ให้กับบุคคลอื่นต่อไป

สรุปผลการวิจัย 2.ระดับการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทั้ง 6 กิจกรรม พบว่า อยู่ในระดับมากและปานกลาง และรูปแบบของการมีส่วนร่วมนั้น เริ่มตั้งแต่การมีส่วนร่วมค้นหาปัญหา และวิเคราะห์ปัญหา การมีส่วนร่วมหาแนวทางแก้ไข การจัดทำแผนงาน โครงการและกิจกรรม การมีส่วนร่วมในการดำเนินงานบริหารจัดการโครงการ ทำกิจกรรม การมีส่วนร่วมรับผลประโยชน์จากผลการดำเนินงาน และการมีส่วนร่วมในการประเมินผล ทั้งในระหว่างการดำเนินงานและหลังเสร็จสิ้นการดำเนินงาน

กิจกรรมวัยใสรักษ์สุขภาพ กิจกรรมประชุมก่อนและหลังการดำเนินกิจกรรม กิจกรรมช่วยเหลือเด็กด้อยโอกาส กิจกรรมค่ายพัฒนาคุณธรรมและสุขภาวะฯ กิจกรรมปฐมพยาบาลเบื้องต้น กิจกรรมวันเอดส์โลก