สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคตัวต่อ วิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.
Advertisements

ผลงานวิจัยเรื่อง “ ชื่อเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความ คงทนในการเรียนรู้เรื่องความรู้เกี่ยวกับแผนธุรกิจ ( Business Plan ) วิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อมรหัส.
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์
นางเจริญสุข ผ่องภักดี
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย นายธีรภัทร พึ่งเนตร
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางนุชนาฎ หิรัญ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
ผู้วิจัย น.ส สุนิสา แก้วมา วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ผลของการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อ ผลสัมฤทธิ์และความสนใจในการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 โรงเรียนสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้านการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนยีวิมล.
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
1. 2 ปัญหาของการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมล ศรีย่าน  จุดมุ่งหมายของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 กำหนดให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์

ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
ชื่อผู้วิจัย : นางสาวพรธนา ช่วยตั้ง
นางสุทัศนีย์ พลเตชา ผลงานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
วิชานิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
นางสาวกานณภา ทองเกิด สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลอง วิชาการขาย 2 เรื่องกระบวนการขายของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
นางสาวพิชญาภา อิ่มประไพ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ (MBAC)
ผู้วิจัย อาจารย์ธนพร ผ่อนวัฒนา
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย โดยจัดกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ ด้วยวิธี STAD ของนักเรียน 501 สาขางานการบัญชี
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาระบบจัดการพลังงานใน อุตสาหกรรม ระดับชั้น ปวส.2/1 หมวดวิชาช่าง ยนต์ โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
นางสาวถนอมนวล ฐาปนพงษ์ไพบูลย์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์โดยใช้ชุดการสอน ในรายวิชาสุนทรียศาสตร์เบื้องต้น ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์กราฟิก ผู้วิจัย อาจารย์ปนัดดา วรกานต์ทิ
โดย อาจารย์นันทิพร ม่วงแจ่ม
อาจารย์นริสรา คลองขุด
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาอาชีวศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาการ บัญชี วิชาการบัญชีเบื้องต้น ด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบสร้าง สถานการณ์จำลอง.
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ด้วยวิธีทัศน ศึกษาแบบบูรณาการ รายวิชา งานห้องผ้าและ ซักรีด ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 สาขาการโรงแรม.
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ผู้วิจัย จุฬารัตน์ มหาชัย
ผู้วิจัย อาจารย์ภารดี เนติเจียม
เรื่องระบบจำนวน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
โดย นางกุหลาบ พรหมจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
อาจารย์ชรินทร ชะเอมเทส
นายขวัญชัย ดวงทนัน วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน ผลงานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนวิชาการบัญชีต้นทุน 2 โดยใช้กิจกรรมการสอนแบบ Jigsaw ของนักศึกษา ปวส.2 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน จัดทำโดย นางสาวนิษา แตงเอี่ยม สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน

ปัญหาการวิจัย การวิจัยในชั้นเรียนเป็นเครื่องมือที่สำคัญที่จะช่วยให้เกิดการพัฒนา ทั้งการเรียนการสอนของอาจารย์ผู้สอน และการเรียนรู้ของผู้เรียนการใช้เทคนิค Jigsaw ในการสอน เป็นอีกวิธีหนึ่ง ซึ่งข้อดีของการสอนแบบ Jigsaw ก็คือเป็นเทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือที่ใช้สอนนักเรียนได้ทั้งเล็กและโต เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้การทำงานเป็นทีมรู้จักช่วยเหลือซึ่งกันและกันมีการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างกัน ที่สำคัญคือการที่ได้ทำงานเป็นทีมนั้นจะทำให้นักเรียนรู้จักกันมากขึ้นจึงไม่ทำให้เกิดการทะเลาะวิวาทระหว่างชั้นเรียนเพราะนักเรียนมีความสามัคคีกัน

วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ก่อนเรียน และ หลังเรียน วิชาการบัญชีต้นทุน 2 โดยใช้ กิจกรรมการสอนแบบ Jigsaw

ตารางแสดงความแตกต่างของการเรียนแบบร่วมมือ กับการเรียนเป็นกลุ่มแบบเดิม การเรียนแบบร่วมมือ (Cooperative Learning) การเรียนเป็นกลุ่มแบบเดิม (Traditional Group Learning) มีความรับผิดชอบร่วมกัน สมาชิกแต่ละคนรับผิดชอบในงานของตนเองและของสมาชิกกลุ่ม สมาชิกมีความสามารถที่แตกต่างกัน สมาชิกผลัดเปลี่ยนกันเป็นหัวหน้า สมาชิกแบ่งความรับผิดชอบซึ่งกันและกัน เน้นที่วิธีการและผลงาน มีการสอนทักษะทางสังคม อาจารย์ผู้สอนสังเกตการณ์ แนะนำการทำงานกลุ่ม มีวิธีการทำงานกลุ่ม ไม่มีความรับผิดชอบร่วมกัน สมาชิกแต่ละคนอาจไม่รับผิดชอบในงานของตนเองและของสมาชิกกลุ่ม สมาชิกมีความสามารถที่ใกล้เคียงกัน สมาชิกเลือกหัวหน้า สมาชิกรับผิดชอบเฉพาะตัวเอง เน้นที่ผลงาน ทักษะทางสังคมถูกละเลย ไม่ได้มีการสอน อาจารย์ผู้สอนละเลยไม่สนใจการทำงานกลุ่มของนักเรียน ไม่มีวิธีการทำงานกลุ่ม

ระเบียบวิธีวิจัย ประชากร : นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน กลุ่มตัวอย่าง : นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 ห้องกบ 201 จำนวน 54 คน ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย : 1. ตัวแปรต้น คือ กิจกรรมการสอนแบบ Jigsaw 2.ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีต้นทุน 2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย : แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ 60 ข้อ

การวิเคราะห์ข้อมูล ตาราง 1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างเรียน จำนวน 3 ครั้ง ครั้งที่ SD. 1 8.07 1.10 2 8.44 0.98 3 8.94 0.96 จากตารางวิเคราะห์ แสดงให้เห็นว่านักเรียนมีความเข้าใจ ทำแบบฝึกหัดได้ถูกต้องเพิ่มขึ้น ตาราง 2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีต้นทุน 2 โดยใช้กิจกรรมการสอนแบบ Jigsaw คะแนนสอบ SD. t Sig. ก่อนเรียน 21.69 5.95 -36.73 .000 หลังเรียน 44.13 5.19 จากตารางวิเคราะห์ แสดงว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้กิจกรรมการสอนแบบ Jigsaw ในรายวิชา การบัญชีต้นทุน 2 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐาน

สรุปผลการวิจัย พบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการบัญชีต้นทุน 2 โดยใช้กิจกรรมการสอนแบบ Jigsaw หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนสอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ ที่เป็นทั้งนี้เนื่องจาก กิจกรรมการสอนแบบ Jigsaw ทำให้นักเรียนทำงานกันเป็นทีมมากขึ้น มีการช่วยเหลือกันระหว่างกลุ่มเด็กที่หัวอ่อนกับกลุ่มเด็กที่หัวดี ทำให้ผลการเรียนของเด็กทั้งสองกลุ่มนี้มีผลการเรียนที่ดีขึ้นมากกว่าก่อนที่จะใช้กิจกรรมการสอนแบบ Jigsaw