“ การแลกเปลี่ยน บุคลากร ” ทางเลือกของการจัดการความรู้ใน สถานศึกษาเอกชนประเภทอาชีวศึกษา กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูกับ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรีบริหารธุรกิจ ผู้วิจัย : นางสาวกาญจนา เลิศรุ่ง รัศมี สังกัด : วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้าน ครู
ปัญหา การวิจัย 1. การเข้า - ออก / การถึงแก่กรรม / การ ขาดแคลน บุคลากรในสถานศึกษา 2. ขาดความต่อเนื่องในการปฏิบัติ หน้าที่และภาระงาน ที่รับผิดชอบ 3. การฝึกอบรมบุคลากร / การทดลอง งานต้องใช้ระยะเวลา 4. เกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสามตัวบ่งชี้ที่ 10 ( สมศ.) 5. ความมั่นคง / แรงจูงใจของ สถานศึกษา
วัตถุประสงค์ การวิจัย 1. เพื่อให้บุคลากรได้รับความรู้ มี ประสบการณ์ตรง เกิดทักษะทางวิชาชีพมากขึ้น 2. เพื่อสร้างความร่วมมือทาง วิชาการร่วมกันระหว่าง สถานศึกษาเอกชนอาชีวศึกษา ด้วยกัน
สถานศึก ษา 1 ด้านการ แลกเปลี่ยน บุคลากร กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process) 1. การบ่งชี้ความรู้ 2. การสร้างและ การแสวงหาความรู้ 3. การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ 4. การประมวล และกลั่นกรองความรู้ 5. การเข้าถึงความรู้ 6. การแบ่งปัน และแลกเปลี่ยนความรู้ 7. การเรียนรู้และการนำไปใช้งาน สถานศึ กษา 2 MOU ทาง วิชาการ ด้าน วิชาการ ด้านประกัน คุณภาพ ด้านการ ทำวิจัย / นวัตกรรม
ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน ( คน ) ร้อยละ 1. เพศ ชาย 13 คน 33.3 หญิง 17 คน 43.6 รวม 30 คน อายุ อายุ 22 – 26 ปี 1 คน 2.6 อายุ 27 – 31 ปี 7 คน 17.9 อายุ 32 – 35 ปี 8 คน 20.5 อายุ 36 – 40 ปี 7 คน 17.9 อายุ 41 ปีขึ้นไป 7 คน 17.9 รวม 30 คน สถานภาพ ผู้บริหาร 3 คน 7.7 อาจารย์ประเภทวิชาอุตสาหกรรม 12 คน 30.8 อาจารย์ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ 15 คน 38.5 รวม 30 คน สังกัดสถานศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู 20 คน 51.3 วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี บริหารธุรกิจ 10 คน 25.6 รวม 30 คน 100
ที่ความพึงพอใจระดับความ พึงพอใจ แปลผล XS.D. 1 การนำเสนอข้อมูลสถานศึกษา ระดับดี มาก 2 ข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ ระดับดี มาก 3 กิจกรรมการแลกเปลี่ยนบุคลากรทางการ ศึกษาทั้งด้านวิชาการและประกันคุณภาพ การศึกษาระหว่างสถานศึกษา ระดับดี มาก 4 การศึกษาดูงานด้านบริหารจัดการ การประกัน คุณภาพการศึกษา และโครงการที่น้อมนำหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับดี มาก 5 ประโยชน์ที่ได้รับจากการทำบันทึก ข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ ระดับดี มาก 6 ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษาดูงาน ระดับดี มาก 7 การสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่าง สถานศึกษา ระดับดี มาก 8 ภาพรวมโครงการศึกษาดูงานและพิธี บันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ ระดับดี มาก ภาพรวมการจัดโครงการ ระดับดี มาก ส่วนที่ 2 ความพึงพอใจของความรู้ที่ได้รับและนำไปใช้ ประโยชน์จากการทำบันทึกข้อตกลง ความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน
1. เพื่อให้บุคลากรได้รับความรู้ มีประสบการณ์ตรง เกิดทักษะทางวิชาชีพมากขึ้น สรุปผลการวิจัยพบว่า บุคลากรที่ทำการ แลกเปลี่ยนได้รับความรู้ ประสบการณ์ ตรง สามารถนำความรู้ ทักษะ มาใช้ในการปฏิบัติ หน้าที่ในสถานศึกษาของตนเอง พิจารณาจากผลการวิจัยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.64 อยู่ในระดับดีมาก 2. เพื่อสร้างความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน ระหว่างสถานศึกษาเอกชนอาชีวศึกษา ด้วยกัน สรุปผลการวิจัยพบว่า มีความร่วมมือทั้ง ด้านการประกันคุณภาพ การแลกเปลี่ยนบุคลากร การศึกษาดูงาน เป็นต้น พิจารณาจากผลการประเมิน คุณภาพภายนอกรอบสาม ( สมศ.) ของวิทยาลัย เทคโนโลยีชลบุรีบริหารธุรกิจ ผ่านการประเมินอยู่ระดับดี คิดเป็นร้อยละ 77% จากการประเมินเมื่อวันที่ 4-6 มีนาคม 2556 ที่ผ่านมา