1. การเตรียมผู้ป่วยก่อนทำการ ตรวจทางรังสีวิทยา 2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอตรวจ 3. ความเหมาะสมของการส่ง ตรวจทางรังสีวิทยา 4. การควบคุมคุณภาพของการ ตรวจทางรังสีวิทยา 5. ระยะเวลาการรอคอย ระยะเวลารายงานผลที่เหมาะสม 7. การอธิบายผลการตรวจแก่ ผู้ป่วย 6. แนวทางการเฝ้าระวัง ภาวะแทรกซ้อนจากการตรวจ
8. ความพร้อมในการช่วยเหลือ ผู้ป่วยกรณีฉุกเฉิน 9. การทบทวนการใช้ทรัพยากร ในการตรวจทางรังสีวิทยา เช่น ฟิล์มด้อยคุณภาพ 11. การเฝ้าระวังการปนเปื้อน รังสีของบุคลากร 10. ความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ ของบุคลากรที่ให้บริการ 7. การใช้ผลการตรวจในการวาง แผนการรักษาผู้ป่วย
1. การป้องกันการแพร่กระจาย เชื้อกรณีผู้ป่วยติดเชื้อทางเดิน หายใจมารับบริการ 3. การติดเชื้อของเจ้าหน้าที่ / การได้วัคซีนป้องกันโรค 2. การเฝ้าระวังการติดเชื้อ เนื่องจากการใช้อุปกรณ์การ ตรวจร่วมกัน
1. การจัดทำบัญชีความเสี่ยง พร้อมแนวทางป้องกัน 2. การรายงานอุบัติการณ์ 4. การประสานของหน่วยงาน กับทีมนำความเสี่ยง 5. วิธีการค้นหาความเสี่ยงเชิงรุก 3. ความเสี่ยงที่สำคัญที่เกิดใน รอบปีพร้อมการทบทวนเพื่อหา แนวทางปฏิบัติ เช่น ผู้ป่วยเกิด ภาวะแทรกซ้อนจากการตรวจ, การค้นหาฟิล์มเก่าไม่พบ
1. การจัดสิ่งแวดล้อมเอื้อต่อการ ดูแลผู้ป่วย 2. ความสะดวก สะอาด ปลอดภัย ของอาคารสถานที่ 3. ระบบสำรองฉุกเฉิน น้ำ ไฟฟ้า ออกซิเจน 6. การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน 4. ระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย 5. ความพร้อมและความพอเพียง ของเครื่องมือ 7. การตรวจสอบ เครื่องเอกซเรย์ตามระยะเวลาที่ เหมาะสม
1. การกำกับการใช้และการใช้ ยาในกลุ่มยาเสพติด 2. การบริหารยาในกลุ่ม High drug alert 4. การบริหารยาค้าง stock 3. การเฝ้าระวังความ คลาดเคลื่อนทางยา
1. การพัฒนา / การออกแบบ เวชระเบียน 2. ความถูกต้อง สมบูรณ์ของ การบันทึกเวชระเบียน 4. การเก็บบันทึกผลการตรวจ รักษาความลับในเวชระเบียน 5. การสื่อสารระหว่างสหวิชาชีพ ในเวชระเบียน 3. การนำเวชระเบียนไปใช้ ประโยชน์ในการทบทวน