นางสาวสุภาภักดิ์ แก้วศรีมล วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
Advertisements

การวัดเจตคติที่มีต่อวิชาภาษาอังกฤษ
ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคตัวต่อ วิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
ผู้วิจัย นายธีรภัทร พึ่งเนตร
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
เรื่อง พัฒนาทักษะการพิมพ์สัมผัส นักเรียนระดับ ปวช.1
ผู้วิจัย นางบุปผา แย้มชุติ
งานวิจัย เรื่อง การใช้ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
ผู้วิจัย นางสาวจินตนา เชื้อเมืองพาน
ผู้วิจัย น.ส สุนิสา แก้วมา วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ
1. 2 ปัญหาของการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมล ศรีย่าน  จุดมุ่งหมายของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 กำหนดให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
วิจัยประเภทการเรียนการสอน
การพัฒนาเกมซ่อนคำศัพท์ภาษาอังกฤษมหาสนุก
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้

ผู้วิจัย นางประชุมพร รุ่นประพันธ์
การพัฒนาเทคนิคการเรียนสะกดคำของนักเรียนระดับชั้น
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
นางสาวกุลวีณ์ สัตตรัตนามัย โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
ผู้วิจัย อาจารย์พรรณี เสือรักษ์
สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู

ชื่อผลงานวิจัย ศึกษาการพัฒนาทักษะด้านการพิมพ์สัมผัสด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.
การแก้ไขปัญหาทักษะการพิมพ์สัมผัสเพื่อพัฒนาความเร็วและ
ใช้เกมพัฒนาทักษะการพิมพ์สัมผัส ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อผู้วิจัย : นางสาวไอลดา วัฒนสิทธิ์
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
เรื่อง การใช้เกมพัฒนาทักษะการเขียนคำภาษาไทย ของนักเรียนระดับชั้น ปวช
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
นางสุกัญญา พลรัตนมงคล วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาพิมพ์ดีดไทย 1 โดยใช้แบบฝึกกลุ่มคำสั้น ๆ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 1 โดย นางสุกัญญา พลรัตนมงคล.
ชื่อเรื่อง ศึกษาผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ การเขียน เรื่องชนิดของคำ วิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร
วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
วิทยาลัยเทคโนโลยีนีรชาบริหารธุรกิจ วิจัยการเรียนการสอน
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวอมรรัตน์ ท่วมแก้ว
ชื่อเรื่องวิจัย. การส่งเสริมพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาระดับชั้นปวช
ชื่อเรื่องวิจัย การศึกษาผลการสร้างประโยค Wh-Questions โดยใช้ฉลากผลิตภัณฑ์ภาษาอังกฤษ ของนักศึกษาระดับประกาศวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการตลาด.
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการพิมพ์สัมผัส
ชื่อผู้วิจัย :: นางสาวสุทธิดา โชติญาณพงษ์
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย

โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นางสาวสุภาภักดิ์ แก้วศรีมล วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู วิจัยเรื่อง การศึกษาเปรียบเทียบทักษะการพิมพ์สัมผัสของนักเรียนระดับชั้น ปวช.1 ระหว่างคะแนนหลังเรียนกับก่อนเรียนด้วยการสอน โดยใช้เกมจัดกิจกรรมการเรียนรู้และจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามปกติ” นางสาวสุภาภักดิ์ แก้วศรีมล วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู

ปัญหาการวิจัย การเรียนพิมพ์ดีดก็จะเป็นพื้นฐานของการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ ที่มีความสำคัญ เพราะถ้าผู้เรียนไม่มีพื้นฐานทางด้านพิมพ์ดีดก็จะไม่สามารถพิมพ์งานด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว ทันเวลา ทำให้งานพิมพ์ล่าช้า ไม่มีประสิทธิภาพ การเรียนพิมพ์ดีดภาษาไทยขั้นพื้นฐาน มีความจำเป็นสำคัญต่อผู้เรียนโดยเฉพาะผู้เรียนสายอาชีพเป็นอย่างมากการทำงานของหน่วยงานต่าง ๆ จะต้องมีการทดสอบความรู้ ความสามารถในการพิมพ์ดีด ดังนั้นการพิมพ์จึงถือว่าเป็นปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งในการใช้งานในชีวิตประจำวัน เรียนการสอน โดยเฉพาะการเรียนในสาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ซึ่งผู้ที่จะเรียนจะต้องมีทักษะด้านการพิมพ์สัมผัสได้เป็นอย่างดี

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อเปรียบเทียบทักษะการพิมพ์สัมผัสของนักเรียนระดับชั้น ปวช.1 ระหว่างคะแนนหลังเรียนกับก่อนเรียนด้วยการเรียนการสอนโดยใช้เกมจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 2. เพื่อเปรียบเทียบทักษะการพิมพ์สัมผัสของนักเรียนระดับชั้น ปวช.1 ระหว่างคะแนนหลังเรียนด้วยการเรียนการสอนโดยใช้เกมจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามปกติ

ผลการวิเคราะห์ ตารางที่ 1 เปรียบเทียบทักษะการพิมพ์สัมผัสของนักเรียนระดับชั้น ปวช.1 ระหว่างคะแนนหลังเรียน กับก่อนเรียนด้วยการเรียนการสอนโดยใช้เกมจัดกิจกรรมการเรียนรู้ คะแนนก่อนเรียน คะแนนหลังเรียน Sd t Prob คะแนนรวม คะแนนเฉลี่ย 175 8.10 398 11.85 1.21 -40.52* .000

(กลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม) ผลการวิเคราะห์ ตารางที่ 2 เปรียบเทียบทักษะการพิมพ์สัมผัสของนักเรียนระดับชั้น ปวช.1 ระหว่างคะแนนทดสอบหลังเรียนด้วยการเรียนการสอนโดยใช้เกมจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามปกติ (กลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม) กลุ่มควบคุม กลุ่มทดลอง Sd t Prob คะแนนรวม คะแนนเฉลี่ย 398 19.75 284 14.20 1.43 17.33* .000

สรุปผลการวิจัย 1. การเปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนนักเรียนกลุ่มทดลอง ทดสอบจับเวลา 3 นาที 4 นาที และ 5 นาที พบว่า นักเรียนมีคะแนนทดสอบก่อนเรียน = 175 มีค่าเฉลี่ย = 8.75 มีค่า SD = 0.85 มีคะแนนทดสอบหลังเรียน = 395 คะแนน มีค่าเฉลี่ย = 19.75 มีค่า SD = 1.33 2. การเปรียบเทียบทักษะการพิมพ์สัมผัสของนักเรียนระดับ ชั้น ปวช.1 คะแนนทดสอบหลังเรียน ด้วยการเรียนการสอนโดยใช้เกมจัดกิจกรรมการเรียนรู้และจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติ ของนักเรียนทั้งสองกลุ่ม นักเรียนกลุ่มทดลอง มีคะแนนทดสอบหลังเรียน = 395 คะแนน มีค่าเฉลี่ย = 19.75 มีค่า SD = 1.33 นักเรียนกลุ่มควบคุมมีคะแนนทดสอบหลังเรียน = 284 คะแนน มีค่าเฉลี่ย = 14.20 มีค่า SD = 0.41

จบการนำเสนอ ขอบคุณครับ