จำนวนของครัวเรือนยากจนที่มีรายได้เฉลี่ยต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Advertisements

๓ ไม่ ๒ มี Road map หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๕ ขั้นที่ ๔
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๕ ส่งเสริมและพัฒนาระบบสารสนเทศชุมชน
งานบริหารงานบุคคล กองการเจ้าหน้าที่ สำนักงานอธิการบดี หน้า ๑
ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข และตัวชี้วัด ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
การติดตามและรายงานผลการ ปฏิบัติงาน ส่งเสริมการเกษตร ๒๕๕๔ ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ.
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ข้อเสนอการปฏิบัติราชการ สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา ประจำปีงบประมาณ พ
ระยะเวลาการประเมิน ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม พ. ศ. ๒๕๕๓ ถึงวันที่ ๓๐ กันยายน พ. ศ. ๒๕๕๔.
แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติงานของบุคลากรทุกระดับ
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการเพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติ
ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน คป.สอ.สตูล
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
โครงการ : การพัฒนาและ ปรับปรุงการทำงานด้วย Challenge โดย สำนักงานพัฒนา ชุมชนอำเภอเด่นชัย.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
เจ้าภาพหลัก สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน
กรมการพัฒนาชุมชน พันธกิจ วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์
อัญชลีพร พันธุ์วิไล หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมการพัฒนาชุมชน
ปัญหาสำคัญ / ทางออกสำหรับ เด็ก ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๓. วัตถุประสงค์ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเด็กของ จังหวัดแบบบูรณาการ เพื่อเสนอโครงการพัฒนาเด็กตาม ความต้องการของจังหวัด.
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
การตรวจประเมินเชิงประจักษ์ ด้านประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
ตัวชี้วัดที่ ๖ ตัวชี้วัดที่ ๖ ร้อยละความสำเร็จของการ เบิกจ่ายเงินงบประมาณ น้ำหนัก ร้อยละ ๕ มิติภายใน.
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ หน่วยงานภายในกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
แนวทางการประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๕
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จในการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชน/
โดย กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
- ร่าง - แบบรายงานผลการดำเนินงานของจังหวัดตามนโยบายรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการ.
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
ผลการดำเนินงานของจังหวัด
วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเพิ่มพูนความรู้เรื่องการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานให้กับเกษตรกร ๒.เพื่อให้เกษตรกรสามารถจัดการศัตรูพืชได้ด้วยตัวเองอย่างยั่งยืน.
สำนักงานเกษตรจังหวัด
ต้นน้ำ : ฟาร์มปศุสัตว์ ฟาร์มสัตว์น้ำ แปลงเพาะปลูก
ขั้นตอนการประเมินลูกจ้างชั่วคราวเงินบำรุง
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
การส่งเสริมครอบครัวแข็งแรงเพื่อเป็นฐานของสังคมตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปี 2557.
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
ชุมชนนักปฏิบัติ (CoPs)
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๕๘)
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ อำนาจหน้าที่ ยุทธศาสตร์สำนัก / กอง / ศูนย์ ประเด็นยุทธศาสตร์ของ.
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การดำเนินการตามภารกิจ การให้บริการจัดหางานในประเทศ
การขับเคลื่อนโครงการ ๑. การขับเคลื่อนโครงการ ใช้กลไกคณะอำนวยการปฏิบัติการขจัด ความยากจนและพัฒนาชนบทตามปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงระดับอำเภอ / ตำบล / หมู่บ้าน.
ประชุมประสานแผนทันตฯ จังหวัด หนองบัวลำภู ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ห้องประชุม สสอ. เมือง.
ปี ๒๕๕๖ อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง
จังหวัดนราธิวาส โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข แบบ ABC
ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดที่
เสริมสร้างและพัฒนา บุคลากรกระทรวงสาธารณสุขทุกระดับ
การบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. ปี 2558
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2558
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ประเมินเทียบระดับการศึกษาในระดับสูงสุด ของการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ระบบฐานข้อมูลทุนเรียงความ
ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน
ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ.
ระดับกระทรวง / กลุ่มภารกิจ / กรม
และค่าเป้าหมายรายบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จำนวนของครัวเรือนยากจนที่มีรายได้เฉลี่ยต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ. ตัวชี้วัดที่ ๓.๑ จำนวนของครัวเรือนยากจนที่มีรายได้เฉลี่ยต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ. เจ้าภาพหลัก : กองแผนงาน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

ตัวชี้วัดที่ ๓.๑ จำนวนของครัวเรือนยากจนที่มีรายได้เฉลี่ย ต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ. หน่วยวัด : ครัวเรือน น้ำหนัก : ร้อยละ ๕ ครัวเรือนยากจนเป้าหมาย : หมายถึง ครัวเรือน ที่มีรายได้เฉลี่ย ต่ำกว่า ๒๓,๐๐๐ บาท/คน/ปี จากการสำรวจข้อมูล จปฐ. ปี ๒๕๕๔ จำนวน ๖๔,๙๗๓ ครัวเรือน ระดับความสำเร็จของการแก้ไขปัญหาความยากจนระดับครัวเรือน พิจารณาจากการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการการ : ชี้เป้าชีวิต จัดทำเข็มทิศชีวิต บริหารจัดการชีวิต และดูแลชีวิต ของส่วนราชการ ชุมชน ภาคีการพัฒนาที่เกี่ยวข้อง จนครัวเรือนยากจนเป้าหมายสามารถยกระดับรายได้เฉลี่ยสูงกว่า ๒๓,๐๐๐ บาท/คน/ปี

เกณฑ์การให้คะแนน : เกณฑ์การให้คะแนน กำหนดเป็นระดับขั้นความสำเร็จ (Milestone) แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนออกเป็น ๕ ระดับ โดยแต่ละระดับดับพิจารณาจากความก้าวหน้าของขั้นตอนการดำเนินงานตามเป้าหมาย แต่ละระดับ ดังนี้ ระดับ คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน ๑ ครัวเรือนยากจนเป้าหมายที่มีรายได้เฉลี่ยต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ. ที่ ๒๓,๐๐๐ บาท/คน/ปี คงเหลือ ร้อยละ ๗๐ (๔๕,๔๘๒ ครัวเรือน) ๒ คงเหลือ ร้อยละ ๖๕ (๔๒,๒๓๓ ครัวเรือน) ๓ คงเหลือ ร้อยละ ๖๐ (๓๘,๙๘๔ ครัวเรือน) ๔ คงเหลือ ร้อยละ ๕๕ (๓๕,๗๓๖ ครัวเรือน) ๕ คงเหลือ ร้อยละ ๕๐ (๓๒,๔๘๗ ครัวเรือน)

เงื่อนไข : ๑. กรณีพื้นที่ใดมีครัวเรือนยากจนเป้าหมายที่มีรายได้เฉลี่ยต่ำกว่า ๒๓,๐๐๐ บาท/คน/ปี ในปี ๒๕๕๔ ย้ายออกนอกพื้นที่ หรือเสียชีวิตและไม่เหลือสมาชิกรายอื่นในครัวเรือนแล้ว ให้นำจำนวนครัวเรือนดังกล่าวไปหักออกจากจำนวนครัวเรือนเป้าหมายในปี ๒๕๔๔ (๖๔,๙๗๓ ครัวเรือน) คงเหลือเท่าใดจึงใช้เป็นฐานคำนวณค่าคะแนน ๒. หากหัวหน้าครัวเรือนยากจนเป้าหมายเสียชีวิตแต่ยังคงเหลือสมาชิกรายอื่นอยู่ ให้ดำเนินการสนับสนุนสมาชิกคงเหลือบริหารจัดการชีวิตเพื่อยกระดับรายได้ให้ผ่านตามเกณฑ์ที่กำหนด

แหล่งข้อมูล : ๑. ข้อมูลครัวเรือนยากจนเป้าหมายที่ตกเกณฑ์ จปฐ. ด้านรายได้ ปี ๒๕๕๔ จำนวน ๖๔,๙๗๓ ครัวเรือน ได้จากการประมวลผล การจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ปี ๒๕๔๔ โดยศูนย์สารสนเทศเพื่อการ- พัฒนาชุมชน ๒. สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด เป็นหน่วยงานในการรวบรวมข้อมูล ผลการบริหารจัดการชีวิตครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการในพื้นที่ จังหวัด และรายงานกรมการพัฒนาชุมชนทราบตามแนวทาง และแบบรายงานที่กำหนด ๓. กองแผนงาน เป็นหน่วยรับผิดชอบหลักในการสนับสนุน ประสานการขับเคลื่อนกิจกรรมบริหารจัดการชีวิตครัวเรือนยากจน แบบบูรณาการ และเป็นหน่วยรวบรวมข้อมูลระดับประเทศ

วิธีการจัดเก็บข้อมูล : ให้จังหวัดรายงานผลการขับเคลื่อนตัวชี้วัดตามแบบที่กำหนด ๒. ให้อำเภอเก็บข้อมูลรายได้เฉลี่ยของครัวเรือนยากจน ระหว่างเดือนกันยายน ๒๕๕๕ ตามแบบที่กำหนด ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด : นางสาวชนมณัฐ รอดบุญธรรม โทรศัพท์ ๐๘๙ ๙๒๒ ๖๖๑๔ ผู้จัดเก็บข้อมูล : นางรัชตา แย้มพุทธคุณ โทรศัพท์ ๐๘๙ ๗๑๗ ๒๓๙๘

เอกสารเชิงประจักษ์ที่เกี่ยวข้อง: 1. คำสั่ง ศจพ.จ. และบันทึกการประชุมของ ศจพ.จ. 2. คำสั่งคณะทำงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการบูรณาการแก้จนแบบบูรณาการ 3. ทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 4 กระบวนงาน 4. รายงานผลการบูรณาการการดำเนินงาน 5. Family Folder ของครัวเรือนยากจนเป้าหมาย/บัญชีรับ-จ่ายครัวเรือน 6. ภาพถ่ายกิจกรรม 4 กระบวนงาน 7. อื่นๆ ถ้ามี

Q&A