การสืบค้นสารสนเทศ สื่อบุคคล - แบบสอบถาม - การสัมภาษณ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จดหมายกิจธุระ.
Advertisements

รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
หัวข้อรายงาน และอาจารย์ที่ปรึกษาประจำกลุ่ม
ดวงจันทร์ พยัคพันธุ์ ห้องสมุดคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประสบการณ์การเขียนหนังสือ-ตำรา
การใช้ Microsoft Word 2007 / 2010 เพื่อการจัดการงานเอกสารเชิงวิชาการ
Education Research Complete
วารสารออนไลน์ เฉพาะทางเกี่ยวกับโรคผิวหนัง
ทรัพยากรสารสนเทศ.
คุณค่าของอินเตอร์เน็ต
การค้นข้อมูล 1. ความหมายของสารสนเทศ (Information)
ขั้นตอนการดำเนินงาน ฐานข้อมูล TCI
Lecture 10 : Database Documentation
เทคนิคการเขียน หนังสือราชการ
สอบรายวิชา การใช้ทรัพยากรห้องสมุด
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
หนังสือไร้กระดาษ.
โครงสร้างของการเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
รหัสวิชา SOHU 0022 Information Literary
รหัสวิชา SOHU0022 Information Literacy
รหัสวิชา SOHU 0022 Using Information Systems
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติเพื่อเชื่อมโยง
1. เข้าเว็บ scopus ( ตาม web address ของแต่ละมหาวิทยาลัยที่บอกรับเป็นสมาชิก )
การสัมมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 4 23 มกราคม 2557
Management Information Systems
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
แนะนำการใช้ฐานข้อมูล LexisNexis
ฐานข้อมูลราชกิจจานุเบกษา
วันที่ เมษายน 2553 ณ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิธีการเขียนรายงานของปัญหาพิเศษ
การพิมพ์รายงาน / วิทยานิพนธ์
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
การใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาษาไทย
บทนิพนธ์ 1. รายงาน (Report) 2. ภาคนิพนธ์ (Term Paper)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง (Project Citizen)
บทที่ 3 กระบวนการแสวงหาและนำเสนอสารสนเทศ
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
การอ้างอิง วณิชากร แก้วกัน สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น.
การเขียนรายงาน.
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยฟาร์ อีสเทอร์น. เวลาทำการ A-FAR วันจันทร์ - ศุกร์ น. วันเสาร์ - อาทิตย์ น. U-FAR วันจันทร์ - ศุกร์
วณิชากร แก้วกัน สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น
การเขียนรายงานการวิจัย
ศ.ดร.สุมาลี สังข์ศรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
วิธีการสืบค้นข้อมูล ด้วย Search engine และการเขียนบรรณานุกรม
รายงานการศึกษาค้นคว้า
การสืบค้นทรัพยากรห้องสมุด (OPAC: Online Public Access Catalog)
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
การเขียนรายงาน.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
รูปแบบรายงาน.
เว็บเพจ (Web Page).
การบรรยายเรื่อง การใช้ห้องสมุดและการสืบค้นข้อมูล
Knovel E-Books Database.
รูปแบบรายงาน ผศ.ธนู บุญญานุวัตร
บทที่ 4 งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
การเขียนรายงาน.
ScienceDirec t จัดทำโดย ปทุมทิพย์ ลิ้มพงศานุ รักษ์
การวิจัยการสื่อสารการตลาด (AMC2202)
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 ฐานข้อมูลวารสารวิชาการครอบคลุมเนื้อหา ทั้งในสาขาวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการแพทย์  ผู้ใช้สามารถสืบค้นได้ตั้งแต่วารสารปีปัจจุบัน.
Introduction EndNote เป็นโปรแกรมที่ใช้สำหรับจัดการข้อมูลทางบรรณานุกรมที่ได้มาจากการบันทึกข้อมูลด้วยตนเอง การสืบค้นและถ่ายโอน (Import) ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง.
16. การเขียนรายงานการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสืบค้นสารสนเทศ สื่อบุคคล - แบบสอบถาม - การสัมภาษณ์ สื่อสิ่งพิมพ์ เช่น หนังสือ วารสาร นิตยสาร นสพ. และจุลสาร เป็นต้น

การอ้างอิง *** การอ้างอิง คือ การระบุแหล่งที่มาของข้อความ ในเรื่อง ทั้งที่ยกมาโดยตรง หรือนำมาประมวลความคิดใหม่ เพื่อให้ผู้อ่านสามารถค้นคว้าเพิ่มเติมได้ในภายหลัง

การอ้างอิง มี 3 ประเภท คือ อ้างอิงแทรกในเนื้อหา อ้างอิงแบบเชิงอรรถ บรรณานุกรม

เครื่องหมายวรรคตอนในการอ้างอิง “ ” ข้างในไม่ต้องเว้นนะ , : ; เว้นหลัง 1 ระยะ . เว้นหลัง 2 ระยะ ปริศนา มัชฌิมา. (2552). “เที่ยวไปกับไอที”. อสท. 48 : 3 (พฤศจิกายน) : หน้า 1.

การอ้างอิงแทรกในเนื้อหา จะใส่ชื่อผู้แต่ง ปีที่พิมพ์ และเลขหน้าไว้ในเครื่องหมาย ( )

(ผู้แต่ง, ปีพิมพ์, หน้า) รูปแบบ (ผู้แต่ง, ปีพิมพ์, หน้า) (ลมุล รัตตากร, 2539, หน้า 5)

ใช้ระบุที่มาของข้อความเหมือนกัน แต่จะพิมพ์ไว้ด้านล่างของหน้ากระดาษ แบบเชิงอรรถ ใช้ระบุที่มาของข้อความเหมือนกัน แต่จะพิมพ์ไว้ด้านล่างของหน้ากระดาษ

รูปแบบ ชื่อผู้แต่ง, (ปีที่พิมพ์), ชื่อหนังสือ, ครั้งที่พิมพ์, (สถานที่พิมพ์: สำนักพิมพ์), หน้าที่อ้างถึง.

นิยมใช้ในงานวิชาการ ลักษณะคล้ายๆ การเขียนเชิงอรรถ การเขียนบรรณานุกรมหรือการอ้างอิงท้ายบท*** นิยมใช้ในงานวิชาการ ลักษณะคล้ายๆ การเขียนเชิงอรรถ

***ที่ขีดเส้นใต้ เวลาพิมพ์มักใช้ตัวหนา รูปแบบ (กรณีที่อ้างอิงมาจากหนังสือ) ชื่อผู้แต่ง. (ปีที่พิมพ์). ชื่อหนังสือ. ครั้งที่พิมพ์. สถานที่พิมพ์: สำนักพิมพ์. ***ที่ขีดเส้นใต้ เวลาพิมพ์มักใช้ตัวหนา

การลงข้อมูลผู้แต่ง ถ้าเป็นคนไทย ให้ใส่ชื่อ-นามสกุล ตามที่เห็นได้เลย เช่น ปริศนา มัชฌิมา ถ้าเป็นชาวต่างประเทศ ให้ใส่ชื่อสกุลก่อน คั่นด้วย , แล้วตามด้วยชื่อหน้า และชื่อกลาง(ถ้ามี) เช่น Hillton, Paris.

กรณีผู้แต่ง มากกว่า 1 คน ผู้แต่ง1 และผู้แต่ง2. ผู้แต่ง1, ผู้แต่ง2 และผู้แต่ง3. ผู้แต่ง1 และคนอื่นๆ. หรือ ผู้แต่ง1 และคณะ (กรณีที่มีการแต่งตั้งเป็นคณะทำงาน)

ปีพิมพ์ จะอยู่ใน ( ) ต่อจากชื่อผู้แต่ง แต่ถ้าไม่พบ ให้ประมาณเวลาที่น่าจะเป็น ในเครื่องหมาย [ ] เช่น (2550) ถ้าไม่แน่ใจให้ใช้  [2550] หมายเหตุ : การเขียนปีพิมพ์ มี 2 แบบ คือ ไว้ข้างหน้า กับไว้หลังสุด

ชื่อเรื่อง ให้เขียนตามที่ปรากฏ ในหน้าปกใน แต่หนังสือภาษาต่างประเทศ ให้เขียนขึ้นต้นของประโยค และคำศัพท์เฉพาะ เช่น ชื่อประเทศ Thailand ด้วยอักษรพิมพ์ใหญ่

ครั้งที่พิมพ์ จะใส่ก็ต่อเมื่อ เป็นหนังสือที่มีการจัดพิมพ์มากกว่า 1 ครั้ง ถ้าหนังสือไม่ได้ระบุครั้งที่พิมพ์ หรือบอกว่าพิมพ์ครั้งที่ 1 ไม่ต้องเขียนในส่วนนี้

สถานที่พิมพ์ แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ สถานที่พิมพ์ และสำนักพิมพ์

สถานที่พิมพ์ ให้ลงรายการ โดยใช้ชื่อเมืองแรกที่สำนักพิมพ์นั้นๆ ตั้งอยู่ สำนักพิมพ์ ให้ลงรายการตามที่เห็นใน หน้าปกใน หากมีคำว่า สำนักพิมพ์ ห้างหุ้นส่วน บริษัท...จำกัด ให้ตัดคำเหล่านี้ออก แต่ถ้าเป็น โรงพิมพ์ ให้ใส่ไว้ด้วย

ถ้าเป็นวิทยานิพนธ์ สุริยันต์ วงศ์เมืองแก่น. (2546). ระบบบริการลูกค้าผ่านเว็บสำหรับการประปานครหลวง. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

รูปแบบ (กรณีที่เป็นวารสาร นิตยสาร) ชื่อผู้แต่ง. (ปีที่พิมพ์). “ชื่อบทความ”. ชื่อวารสาร. เล่มที่หรือปีที่ : ฉบับที่ (เดือน) : หน้า.

น.15

รูปแบบ (กรณีอ้างอิงมาจาก นสพ.) ชื่อผู้แต่ง. (ปีที่พิมพ์). “ชื่อบทความ”. ชื่อหนังสือพิมพ์. (วันที่ เดือน) : หน้า.

รูปแบบ (กรณีอ้างอิงมาจากในอินเทอร์เน็ต) ชื่อผู้แต่ง. (ปีพ.ศ.). ชื่อเรื่อง. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://............................. [วันที่ เดือน ปีที่เข้าถึง].

หรือ ชื่อผู้แต่ง. (ปีพ.ศ.). ชื่อเรื่อง. [online]. Available : http://........................ [วันที่ เดือน ปีที่เข้าถึง].

กรณีไม่ทราบชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง. (ปีพ.ศ.). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://....................... [วันที่ เดือน ปีที่เข้าถึง].

หรือ (กรณีข้อมูลเป็นภาษาอังกฤษ) ชื่อเรื่อง. (ปีพ.ศ.). [online]. Available : http://........................ [วันที่ เดือน ปีที่เข้าถึง].

ใคร ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร และผลที่ได้จาการศึกษาคืออะไร ตัวอย่างการสรุปงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง...................... ว่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร และผลที่ได้จาการศึกษาคืออะไร

สวรรยา วิริยะวัฒนะ (2544) ศึกษาการจัดตารางการผลิตแบบโต้ตอบทางเว็บ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ทางด้านเทคนิค ในการจัดตารางการผลิตแบบโต้ตอบระหว่างบริษัทผู้ผลิตกับบริษัทผู้ส่งมอบทางเว็บ ซึ่งใช้ภาษา PHP ในการประมวลผลและใช้ MySQL ในการจัดการฐานข้อมูล เนื่องจากซอฟต์แวร์ทั้งสองเป็นแชร์แวร์ที่สามารถนำมาใช้ในการพัฒนาและเผยแพร่ได้โดยไม่ต้องเสียค่าลิขสิทธิ์ จากการพัฒนาระบบพบว่า มีความเป็นไปได้สูงในการนำเอาเทคโนโลยีที่มีความสามารถในการทำงานบนอินเทอร์เน็ตมาประยุกต์ใช้ เพื่อการติดต่อสื่อสารแบบโต้ตอบระหว่างบริษัทผู้ผลิตและบริษัทผู้ส่งมอบ ในส่วนของการจัดตารางการผลิตร่วมกัน เพื่อตกลงเวลาที่เหมาะสมในการส่งมอบวัตถุดิบทางเว็บ