โครงการบริหารจัดการคลังวัคซีนสำรองเพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ ๒๕๕๘.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

ห้องประชุมสานฝัน โรงพยาบาลสังขะ
การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
เครือข่ายวิชาชีพห้องสมุด
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
การจัดสรรงบประมาณ โครงการเด็กไทยเฉลียวฉลาด ประเทศชาติแข็งแรง
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
นโยบาย 1) มีระบบข้อมูลสุขภาพผู้ป่วยในพื้นที่ ที่เป็นปัจจุบัน และสามารถเชื่อมโยงระหว่าง รพ.สต.กับ รพ.แม่ข่ายได้ 2) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีการลงทะเบียนที่
การเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ด้านการแพทย์และสาธารณสุข
แนวทางการบริหารจัดการระบบประกันสุขภาพ ในภาพรวม ปีงบประมาณ 2551
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
ที่โครงการงบประมา ณ ( บาท ) กลุ่มเป้าหม าย 5 โครงการส่งเสริมสวัสดิภาพเด็ก ปฐมวัยในชุมชน 21,000, เรื่อง 1 หลักสูตร มีทั้งสิ้น 7 โครงการ เป็นเงิน 148,655,200.
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
กลุ่มที่ ๒ โรคติดต่อทางอาหารและน้ำ
ตัวชี้วัดที่ 2.4 ระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบการบริหารความเสี่ยงและการควบคุม-ภายใน ประจำปีงบประมาณ 2557.
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
สรุปการประชุม เขต 10.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบริการผู้ป่วยโรคจิตให้เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นในพื้นที่ เป้าหมาย จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ.
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
การพัฒนาระบบการกระจายวัคซีน & รายงานผลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ตัวชี้วัดงานอาชีวอนามัย ความสำเร็จการประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล ปี 2555 ร้อยละของความสำเร็จ การประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล.
การปฏิบัติตามแนวทางถ่ายโอนภารกิจฯ จังหวัดเพชรบูรณ์ 1
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
ให้วัคซีน dT แก่ประชากร
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
การตรวจประเมินรับรอง รอบ 2 มาตรฐานงานสุขศึกษา
ระบบบริหารจัดการบนหลักธรรมาภิบาล
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
ศูนย์พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
โดย อารมณ์ ผิวดำ สพม.38 (สุโขทัย-ตาก)
การนำเสนอคำของบดำเนินงานโครงการปี 2559
กลุ่มที่ 11.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การเร่งรัดติดตามการใช้จ่ายเงิน
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
แผนผังการปรับปรุงกระบวนการสอบเทียบมาตรฐานเครื่องมือแพทย์
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการบริหารจัดการคลังวัคซีนสำรองเพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ ๒๕๕๘

โรคและภัยสุขภาพเป้าหมาย/ภาพที่คาดหวัง 1.เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินจากการแพร่ระบาดของโรค จะมีความมั่นใจว่ามีวัคซีนมีคุณภาพ เพียงพอ 2.ทราบข้อมูล ปัญหาการบริหารจัดการคลังวัคซีนของสคร. ภายหลังมอบความรับผิดชอบการกระจายวัคซีนผ่านระบบ VMI แก่สปสช. ระยะเวลาดำเนินการ 5 ปี (2558-2562)

ค่าเป้าหมาย มีคลังวัคซีนสำรองของประเทศในภาวะฉุกเฉิน ภาคละ 1 แห่ง และกรมควบคุมโรค รวมทั้งหมด 5 แห่ง Setting พื้นที่เป้าหมาย : คลังวัคซีนสำรอง : ภาคกลาง สคร.4 ราชบุรี ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สคร. 6 ขอนแก่น ภาคเหนือ สคร.9 พิษณุโลก ภาคใต้ สคร.12 สงขลา กรมควบคุมโรค กลุ่มเป้าหมาย : เภสัชกรและเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบคลังวัคซีนและเวชภัณฑ์ สคร. 1-12 / สสจ.

มาตรการ แนวทางดำเนินงาน สำรวจประเมินคลังวัคซีนสคร.เป้าหมาย รวมทั้งประชุมสรุปผลและถอดบทเรียน พัฒนาคลังวัคซีนภายหลังสำรวจประเมิน จัดทำแผนการสำรองวัคซีนเพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน 4. มีบุคลากรผู้ดูแลระบบคลังวัคซีนในระดับจังหวัด cold chain manager (เภสัชกรสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด) เป้าหมายคือเพื่อสร้างเครือข่ายการดำเนินงาน 5. พัฒนาระบบข้อมูลให้สามารถติดตามข้อมูลคลังวัคซีน พัฒนาระบบข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน real time, สามารถเชื่อมโยงระหว่างหน่วยบริการ และสามารถคำนวณอัตราการสูญเสียของวัคซีนได้

แนวทางติดตามประเมินผล จากการประเมินการบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก(In-depth Interview) การถอดบทเรียนจากการสำรวจ และจากการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้/การทำแผนปฏิบัติงาน

ตัวชี้วัดความสำเร็จ :ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคลังวัคซีนสำรองเพื่อ รองรับการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินระดับประเทศ ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน 1.มีการกำหนดผู้รับผิดชอบงานบริหารจัดการคลังวัคซีน เป็นลายลักษณ์อักษร 2.ผู้รับผิดชอบงานบริหารจัดการคลังวัคซีนผ่านการอบรม ให้ความรู้เรื่อง ระบบลูกโซ่ความเย็น 3.มีแผนปฏิบัติงานด้านการเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะ ฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุขด้านวัคซีน 4.ผู้รับผิดชอบระดับสคร.มีการบูรณาการร่วมกับ ผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด(สสจ.)ในการนิเทศติดตาม หน่วยบริการในพื้นที่เรื่องการบริหารจัดการระบบลูกโซ่ ความเย็น 5.มีระบบการเชื่อมโยงข้อมูลการบริหารจัดการวัคซีน ร่วมกันระหว่างสคร.และหน่วยบริการในพื้นที่

รายละเอียดการดำเนินงาน ขั้นตอน ที่ รายละเอียดการดำเนินงาน คะแนน แนวทางการ ประเมิน 1 มีการกำหนดผู้รับผิดชอบงานบริหาร จัดการคลังวัคซีนเป็นลายลักษณ์อักษร -มีผู้รับผิดชอบเป็นลายลักษณ์ อักษร 1 คะแนน -ไม่มีผู้รับผิดชอบหรือมี ผู้รับผิดชอบแต่ไม่เป็น ลายลักษณ์อักษร 0 คะแนน คำสั่งแต่งตั้ง คณะกรรมการฯ หรือ แบบมอบหมายงาน 2 ผู้รับผิดชอบงานบริหารจัดการคลังวัคซีน ผ่านการอบรมให้ความรู้เรื่อง ระบบลูกโซ่ ความเย็น -ผู้รับผิดชอบผ่านการอบรม 1 คะแนน -ผู้รับผิดชอบไม่ผ่านการอบรม 0 คะแนน -หลักฐานการอบรมเรื่อง การบริหาร จัดการระบบลูกโซ่ความ เย็น -การสัมภาษณ์ การ สอบถาม 3 มีแผนปฏิบัติงานด้านการเตรียมพร้อมตอบ โต้ภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และ สาธารณสุขด้านวัคซีน - ต้องมีการกำหนดไว้ล่วงหน้า โดย ระบุทั้งรายการ ปริมาณ วัคซีน รายละเอียดอื่นๆที่จำเป็น - ระบุกิจกรรมที่ต้องดำเนินการ - มีการกำหนดหน้าที่ผู้รับผิดชอบให้ ชัดเจน -มีแผนปฏิบัติงานด้านการ เตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ด้านการแพทย์และสาธารณสุข เฉพาะด้านวัคซีนหรือเป็นแผน ภาพรวมแต่ต้องครอบคลุมเรื่อง วัคซีน 1 คะแนน -ไม่มีแผนปฏิบัติงาน หรือมี แผนแต่ไม่ครอบคลุมด้านการ เตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ด้านการแพทย์และสาธารณสุข ด้านวัคซีน 0 คะแนน แผนปฏิบัติงานด้านการ เตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะ ฉุกเฉินด้านการแพทย์ และสาธารณสุขด้าน วัคซีน 4 -ผู้รับผิดชอบระดับสคร.มีการบูรณาการ ร่วมกับผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด(สสจ.)ใน การนิเทศติดตามหน่วยบริการในพื้นที่ เรื่องการบริหารจัดการระบบลูกโซ่ความ เย็น -มีแผนบูรณาการร่วมกัน ระหว่างผู้รับผิดชอบระดับสคร. และระดับจังหวัด(สสจ.)ในการ นิเทศติดตาม เป็นลายลักษณ์ อักษร 1 คะแนน -ไม่มีแผนบูรณาการร่วมกัน 0 คะแนน แผนบูรณาการร่วมกัน ระหว่างผู้รับผิดชอบ ระดับสคร.และระดับ จังหวัด(สสจ.)ในการ นิเทศติดตาม 5 มีระบบการเชื่อมโยงข้อมูลการบริหาร จัดการวัคซีนร่วมกันระหว่างสคร. และ หน่วยบริการในพื้นที่ -มีการเชื่อมโยงข้อมูลการ บริหารจัดการวัคซีนที่สามารถ ตรวจสอบชนิด จำนวนวัคซีน ระหว่างสคร.และหน่วยบริการ ในพื้นที่ได้แก่ รพศ./รพท./ รพช./รพ.สต. 1 คะแนน -ไม่มีการเชื่อมโยงข้อมูล 0 คะแนน 1.การตรวจสอบระบบ ข้อมูลทั้งระบบ manual และโปรแกรม คอมพิวเตอร์ 2.การสัมภาษณ์ การ สอบถาม

ตัวชี้วัด หน่วยวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 2559 2560 ระดับ ความสำเร็จของ การพัฒนาคลัง วัคซีนสำรอง เพื่อรองรับการ ตอบโต้ภาวะ ฉุกเฉิน ระดับประเทศ ขั้นตอน 4 5

กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ 1. จัดทำโครงการฯเพื่อขออนุมัติ ตุลาคม – พฤศจิกายน 2557 2. ประชุมคณะทำงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับ ธันวาคม 2557 3. จัดทำเครื่องมือเพื่อตรวจประเมินมาตรฐานคลังวัคซีน 4. ดำเนินการสำรวจและประเมินแผนการบริหารจัดการคลังวัคซีนฯ ของสำนักงานป้องกันควบคุมโรคเป้าหมาย 4 แห่ง และหน่วยบริการในพื้นที่ มกราคม 2558 – มีนาคม 2558 5. วิเคราะห์ผลการสำรวจและประเมินฯ เมษายน 2558 6. ประชุมถอดบทเรียนและทำแผนสำหรับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องทุกระดับ พฤษภาคม 2558 7. สรุปและประเมินผลการดำเนินงานฯ พฤษภาคม - กันยายน 2558 8. จัดพิมพ์แนวทางคู่มือการบริหารจัดการคลังวัคซีนสำรอง สิงหาคม 2558

สิ่งที่จะดำเนินการต่อ ปี 59-62 ***จัดทำแผนลงทุนเพื่อพัฒนาคลังวัคซีนสำรอง สำหรับสคร.เป้าหมาย คือ 4,6,9 และ 12 - พัฒนา Cold room สำหรับเก็บสำรองวัคซีน ได้แก่ การจัดทำแบบแปลนพัฒนา สนับสนุนเครื่องมือ อุปกรณ์ จำเป็น - พัฒนาบุคลากร (Cold chain manager) เน้นบุคลากรที่สังกัดกรมควบคุมโรค

กลวิธีดำเนินงานและกิจกรรม ลำดับ กลวิธีดำเนินงานและกิจกรรม งบประมาณ (บาท) ปี 58 ปี 59 ปี 60 ปี 61 ปี 62 หมายเหตุ 1. ดำเนินการสำรวจคลังวัคซีนของสำนักงานป้องกันควบคุมโรคทั้ง 12 แห่ง เพื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์สภาพปัญหา - ประชุมสรุปผลและถอดบทเรียนการสำรวจคลังวัคซีนของสำนักงานป้องกันควบคุมโรคทั้ง 12 แห่ง 500,000 2. พัฒนาปรับปรุงคลังวัคซีนสำรองภายหลังการสำรวจ/ประเมิน ทั้งเครื่องมือ,อุปกรณ์ไฟฟ้า,อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่มีอยู่ให้ได้มาตรฐาน ดังนี้ - จัดซื้อเครื่องกำเนิดไฟฟ้าสำรอง สำหรับสคร.4,6,9,12 และกรมควบคุมโรค เครื่องละ 783,000 บาท 5 เครื่อง เป็นเงิน 9,915,000 3,915,000 2,000,000

ลำดับ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) ปี 58 ปี 59 ปี 60 ปี 61 ปี 62 หมายเหตุ 3. พัฒนาระบบการขนส่งวัคซีน 3.1 สำรวจพาหนะที่ใช้ขนส่งวัคซีนทั้งประเทศว่าได้มาตรฐานหรือไม่ รวบรวมสภาพปัญหา 3.2 จัดซื้อพาหนะขนส่งวัคซีนเพิ่มเติมในจุดที่ไม่เพียงพอ 3.3 ปรับปรุงพาหนะขนส่งวัคซีนที่มีอยู่ ให้ได้มาตรฐาน 5,000,000 1,000,000 400,000 300,000 4. พัฒนาบุคลากรผู้รับผิดชอบเพื่อพัฒนาให้เป็น Cold chain manager ที่มีประสิทธิภาพ -อบรมให้ความรู้ด้านระบบการบริหารจัดการลูกโซ่ความเย็นแก่บุคลากรที่รับผิดชอบ เป้าหมายเจ้าหน้าที่สำนักงานป้องกันควบคุมโรค ทั้ง 12 แห่ง ปี 59-62 800,000 200,000