เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
Advertisements

วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
กรมการพัฒนาชุมชน พันธกิจ วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์
Strategy Plan  ออม  การลงทุน  แก้ความจน ช่วยสังคม  เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย กำไร ความเข้มแข็ง ความ มั่นคง ทางการเงิน อย่างสมดุล / ยั่งยืนต่อเนื่อง ความเข้มแข็ง.
สหกรณ์การเกษตรชุมพวง จำกัด
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การบรรยายสรุป การสำรวจพื้นที่เพื่อจัดทำ และสนับสนุนโครงการนำ ร่อง : บ้านขุนอมแฮดนอก อำเภอ อมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ 25 มิถุนายน 2552.
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิชุล บุญสิม
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นางสาววิไลวรรณ ดุลยพัฒน์
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายเพิ่มพูน มาประกอบ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายอามะ แวดราแม
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลช้างทูน อำเภอบ่อ ไร่ จังหวัดตราด.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวินัย ไชยอุดม
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายสมบัติ เซี่ยงว่อง
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลโฆษิต อำเภอ ตากใบ จังหวัดนราธิวาส ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย วัฒนา แดงสุวรรณ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ นายสมเกียรติ วิจิตรประเสริฐ ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร สัมมนาเชิงปฏิบัติการการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการเกษตร.
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
ศูนย์เรียนรู้การเกษตรพอเพียง ปี 2550 กรมส่งเสริมการเกษตร
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
รูปแบบ/ประเภทเกษตรกรรมยั่งยืน และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
พี่น้องปุ๋ยหมักโบกาชิ
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
แผนปฏิบัติงาน 5 ปี (2553 – 2557) นิคมการเกษตรข้าวหอมมะลิ
(พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว)
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
ผู้ช่วยเลขา สามารถจัดตั้งกองทุนพัฒนา อาชีพการเกษตร เพื่อช่วยเหลือ เกษตรกรเป็น แบ่งการบริหาร ลงในกลุ่มรับผิดชอบทั้งหมด 5 กลุ่ม คือ 1. กองทุนพันธุ์สัตว์
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
ผลการดำเนินงานวิจัยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดตรัง
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลบางพระเหนือ อำเภอละอุ่น จังหวัดระนอง ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย เลี่ยน อุ่นสุข เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายบุญสวย เชื้อสะอาด
สถานการณ์การดำเนินงานวิสาหกิจชุมชน กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบึงหลุมบัว
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายมะหะหมัด โต๊ะยะลา
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลและ อำเภอทุ่ง ช้าง จังหวัดน่าน ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย จิตร เสียงกอง เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต แหล่งเรียนรู้ เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์ ยินดีต้อนรับ

ความเป็นมา การทำปุ๋ยอินทรีย์เป็นการปรับโครงสร้างดินทำให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์ เนื่องจากการนำวัสดุเหลือใช้จากแปลงไร่นา เช่นเศษหญ้า ต้นพืชต่างๆ และปุ๋ยคอกมูลสัตว์ นำมาหมักเป็นปุ๋ยเพื่อส่งเสริมสนับสนุนเกษตรกรหันมาใช้ปุ๋ยอินทรีย์ มาดำเนินกิจกรรมเกษตรปลอดสารพิษ และส่งเสริมเกษตรกรนำเทคโนโลยีที่เหมาะสมจากภูมิปัญญาท้องถิ่น มาผสมผสานในการดำเนินกิจกรรมทางการเกษตร ในการใช้ปุ๋ยเคมีนานๆจะมีผลต่อโครงสร้างของดินทำให้ดินแน่น ดินไม่ร่วนชุ่ยรากพืชหาอาหารได้ยากทำให้พืชไม่เจริญงอกงาม และในปัจจุบันปุ๋ยเคมีมีราคาแพงมาก

ราคาปุ๋ยแพง เศรษฐกิจตกต่ำ มีภาระหนักในทุกด้าน เส้นทางการพัฒนา ปี พ.ศ.2549 เทศบาลเข้าให้การอบรมเรื่องการทำปุ๋ยอินทรีย์เกิดแนวคิด,ลองผิดลองถูก,ใช้วัตถุดิบในชุมชน,ใช้เอง,แบ่งแจกจ่ายให้ผู้สนใจ เป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับชุมชนที่มีความสนใจ ราคาปุ๋ยแพง เศรษฐกิจตกต่ำ มีภาระหนักในทุกด้าน ปี พ.ศ.2550-51ผู้สนใจเพิ่มขึ้นจึงมีแนวคิดการรวมกลุ่ม,ระดมทุน,แบ่งอัตราส่วนเท่าๆกันในกลุ่ม ปี พ.ศ.2552ถึง53จัดตั้งกลุ่มเป็นรูปธรรมมีประธาน กรรมการบริหารจัดการกลุ่มมีกฎระเบียบข้อบังคับของกลุ่ม,ปันผลใช้หลักพอกินพอใช้เหลือค่อยพัฒนาสู่เชิงธุรกิจและพึ่งพาตนเองเป็นหลัก

1. เพื่อลดต้นทุนในการประกอบอาชีพ และเพิ่มรายได้ให้กับกลุ่ม/ชุมชน แหล่งเรียนรู้ เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อลดต้นทุนในการประกอบอาชีพ และเพิ่มรายได้ให้กับกลุ่ม/ชุมชน 2. เพื่อปรับสภาพดินที่เสื่อมโทรมให้อุดมสมบูรณ์ 3. เพื่อรณรงค์ลด ละ เลิก การใช้ปุ๋ยเคมี 4. เพื่อสร้างความสามัคคีภายในกลุ่ม/ ชุมชน 5. เพื่อพัฒนารายได้และอาชีพภายในกลุ่ม/ชุมชน

กิจกรรมของศูนย์ * ร่วมกันจัดหาวัตถุดิบมาหมักไว้ที่เตรียมไว้ ชุมชนเข้มแข็ง บริหารจัดการ แบบการมีส่วนร่วม พึ่งพาอาศัย * ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนในหมู่บ้านหรือชุมชนใกล้เคียงทราบว่ามีการผลิต *ร่วมกันผลิตปุ๋ย * ใช้วัตถุดิบที่มีในท้องถิ่นที่มีให้เกิดประโยชน์ร่วมกันหา * ร่วมกันหาสมาชิกผู้ซื้อปุ๋ย * ร่วมกันรับผิดชอบ แบ่งปันทุกข์ สุข

ประโยชน์ของประชาชนที่จะได้รับ ความ พึงพอใจ ของประชาชน ด้านเศรษฐกิจ 1. ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ 2. รู้วิธีการผลิตน้ำสกัดชีวภาพรูปแบบต่างๆ ด้านสังคม 1. สร้างความสามัคคี 2. สุขภาพกาย ใจ และจิตวิญญาณ ดีและเป็นสุข ประชาชน ใน ชุมชน ด้านบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 1. ได้ระบบการบริหารจัดการกลุ่มที่เข้มแข็ง 2. ความพึงพอใจของประชน 3.ขยายเครือข่ายการทำปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ รูปแบบต่างๆ

การบริหารจัดการงบประมาณ ในการทำปุ๋ย 1. ค่าใช้จ่ายในการทำปุ๋ย ต่อกระสอบ เป็นเงิน 220-240 บาท 2. ราคาขายแก่สมาชิก กระสอบละ 280 บาท 3. ราคาขายแก่บุคคลภายนอก กระสอบละ 300 บาท 4. ปัจจุบันมีเงินทุนหมุนเวียน 63,000 บาท

การเตรียมน้ำหมัก และการการคลุกเคล้าส่วนผสม ภาพความสำเร็จ การเตรียมน้ำหมัก และการการคลุกเคล้าส่วนผสม

การผสม การตาก การปั่นแห้ง ภาพความสำเร็จ การผสม การตาก การปั่นแห้ง

การตรวจคุณภาพ การบรรจุถุง ภาพความสำเร็จ การตรวจคุณภาพ การบรรจุถุง

ขอบคุณ สวัสดี