ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงงาน เรื่อง การมีเพศสัมพันธ์ก่อนอันสมควร
Advertisements

ชื่อเรื่อง การศึกษาพฤติกรรมนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และ 5 โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2546 โดยใช้แบบประเมินตนเอง(SDQ)
สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
สร้างสุขในเยาวชนและครอบครัว ป้องกันปัญหาตั้งครรภ์ในเยาวชน
การศึกษารายกรณี.
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
“ การส่งเสริมโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยสุขภาพดี ”
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
ชุมนุม YC.
ชุมนุม YC.
การพัฒนานักเรียนโดยครูและโรงเรียน
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
การดำเนินงานเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและเยาวชน
การส่งเสริมสุขภาพเด็กไทยวันนี้
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
การส่งเสริมและป้องกัน ปัญหานักเรียน
ยุทธศาสตร์ กรมสุขภาพจิต
การบริการวิกฤตสุขภาพจิตและการปฏิบัติงานทีม MCATTและบทบาทหน้าที่
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
แบบประเมินจุดแข็งและจุดอ่อน
แนวทางการดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
แนวทางการดำเนินงาน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ในโรงเรียนเอกชน
การดำเนินงานกรมสุขภาพจิต
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
สาระสำคัญจากการประชุมคณะกรรมการแก้ไขปัญหายาเสพติด ในสถานกักขัง ควบคุม และสถานบำบัดของกระทรวงยุติธรรม ครั้งที่ 1/2552 แนวทางการแก้ไขปัญหายาเสพติดแบ่งออกเป็น.
การขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชน
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
สรุปผลการส่งเสริมพัฒนาการเด็กวัย ๐ - ๕ ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
คู่มือการดูแลทางจิตเวช เพื่อป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตาย
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
โครงการสำคัญตามนโยบาย
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
สุขภาพจิต ภาวะความสมบูรณ์ของจิตใจ มีพัฒนาการด้านจิตใจ และอารมณ์อย่างสมบูรณ์ เหมาะกับวัย.
ความเป็นมาของกิจกรรมYC ท่ามกลางความวุ่นวายของสังคม และสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว  วัยรุ่นไทยได้รับการครอบงำจากสื่อ วัฒนธรรมจากต่างชาติ
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
มาตรการส่งเสริม โรงเรียนบ้านเขาแก้ววิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
องค์ประกอบที่4การจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
สกลนครโมเดล.
กิจกรรมการจัดการกับ อารมณ์และความเครียด.
ความแตกต่างระหว่างวัยรุ่นชายและวันรุ่นหญิง
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
การปรับตัว ของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ ๑ โดย นางสาวจิราพร นฤดม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชล บริหารธุรกิจ (MBAC)
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
กลุ่มสาระการเรียนรู้
ครูวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สอนโดย นายวิเชียร มีสม พ หน่วยการเรียนที่ 1 การวางแผนดูแลสุขภาพของ บุคคลในชุมชนและสังคม.
การจัดการเรียนรู้ เพศวิถีศึกษา รอบด้านในโรงเรียน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์ Child and Adolescent Mental Health Rajanagarindra Institute (CAMRI) กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข

สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์ Child and Adolescent Mental Health Rajanagarindra Institute (CAMRI) กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข

ระบบดูแลการช่วยเหลือนักเรียน กระบวนการดำเนินงาน ดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างเป็นระบบ มีขั้นตอนชัดเจน โดยการมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและนอกสถานศึกษา มีวิธีการเครื่องมือที่มีมาตรฐาน คุณภาพและมีหลักฐานการทำงานที่ตรวจสอบได้

กระบวนการและขั้นตอนของ ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์ Child and Adolescent Mental Health Rajanagarindra Institute (CAMRI) กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข กระบวนการและขั้นตอนของ ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 1.รู้จักนักเรียนรายบุคคล 2. คัดกรองนักเรียน ปกติ เสี่ยง มีปัญหา 3. ส่งเสริม 4. ป้องกัน/ช่วยเหลือ ดีขึ้น อาการ/พฤติกรรม 5. ส่งต่อ ไม่ดีขึ้น

การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล การรับรู้ข้อมูลด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับนักเรียน อย่างครบถ้วน เป็นข้อมูลเชิงประจักษ์ มิใช่การใช้ความรู้สึกหรือการคาดเดา ได้แก่ ด้านความสามารถ (การเรียน, ความสามารถอื่นๆ) ด้านสุขภาพ (ร่างกาย, จิตใจ, พฤติกรรม) ด้านครอบครัว (เศรษฐานะ, การคุ้มครองนักเรียน) ด้านยาเสพติด ด้านความปลอดภัย ด้านอื่นๆ เช่น ด้านเพศ ด้านการเล่นเกม เป็นต้น

วิธีการและเครื่องมือในการรู้จักนักเรียน ระเบียนสะสม แบบประเมินจุดแข็งและจุดอ่อน (Strengths and Difficulties Questionnaire) การเยี่ยมบ้าน อื่นๆ

แบบประเมินจุดแข็งและจุดอ่อน (Strengths and Difficulties Questionnaire) พัฒนาโดย Robert Goodman กรมสุขภาพจิตได้เพิ่มขั้นตอนการแปลและศึกษาค่าเกณฑ์เฉลี่ยในเด็กไทย จำนวน 25 ข้อคำถาม แบ่งหมวดพฤติกรรม ได้แก่ พฤติกรรมเกเร พฤติกรรมอยู่ไม่นิ่ง ปัญหาทางอารมณ์ ปัญหาความสัมพันธ์กับเพื่อน พฤติกรรมสัมพันธภาพทางสังคม

การคัดกรอง เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลทั้งหมดที่ได้จากการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล และนำมาจำแนกตามเกณฑ์การคัดกรอง กลุ่มปกติ นักเรียนไม่มีพฤติกรรม ที่เป็นปัญหาและส่งผลกระทบต่อชีวิตประจำวัน คัดกรอง ข้อมูลนักเรียนเป็นรายบุคคล กลุ่มมีปัญหา นักเรียนที่มีพฤติกรรมปัญหาชัดเจน มีผลกระทบต่อวิถีชีวิตประจำวัน ทั้งต่อตนเองและสังคม กลุ่มเสี่ยง นักเรียนที่มีพฤติกรรมเบี่ยงเบนไปจากปกติ เช่น เก็บตัว การแสดงออกเกินขอบเขต ทดลองสิ่งเสพติด ผลการเรียนเปลี่ยนแปลงในทางลบ เป็นต้น

การพัฒนาส่งเสริมนักเรียน เป็นการสนับสนุนให้นักเรียนทุกคนได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ มีความภาคภูมิใจในตนเองในด้านต่างๆ มีกิจกรรมหลักสำคัญ คือ การจัดกิจกรรมโฮมรูม (Homeroom) การจัดประชุมผู้ปกครองชั้นเรียน (Classroom Meeting)

การป้องกันและแก้ไขปัญหา เป็นกระบวนการใช้เทคนิค ทักษะต่างๆ ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา ถือเป็นการช่วยเหลือนักเรียน ในกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มมีปัญหา เพื่อป้องกัน แก้ไขไม่ให้ปัญหานั้นซับซ้อนยิ่งขึ้น

การช่วยเหลือนักเรียนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มมีปัญหา การให้การปรึกษาเบื้องต้น การปรับพฤติกรรมด้วยกิจกรรมในชั้นเรียน เพื่อนช่วยเพื่อน การสื่อสารกับผู้ปกครอง การจัดกิจกรรมซ่อมเสริม การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร การจัดกิจกรรมเยี่ยมบ้าน อื่นๆ เช่น Case Conference, Youth counselor

การส่งต่อ กรณีที่บางปัญหามีความยุ่งยากซับซ้อน หรือช่วยเหลือแล้วนักเรียนมีพฤติกรรมไม่ดีขึ้น ควรดำเนินการส่งต่อไปยังผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านต่อไป การส่งต่อภายใน การส่งต่อภายนอก

สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์ Child and Adolescent Mental Health Rajanagarindra Institute (CAMRI) กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข การเชื่อมโยงการดำเนินงาน บริการสุขภาพจิตเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ระหว่างสถานศึกษาและสถานบริการสาธารณสุข (OHOS : One Hospital One School)

1.รู้จักเด็กเป็นรายบุคคล การเชื่อมโยงการดำเนินงานบริการสุขภาพจิตเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ระหว่างสถานศึกษาและสถานบริการสาธารณสุข(OHOS : One Hospital One School) โรงเรียน 1.รู้จักเด็กเป็นรายบุคคล 2.คัดกรอง(SDQ) 3.ส่งเสริมพัฒนา 4.ป้องกันแก้ไข 5.ส่งต่อ YC Friend Corner ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน เครือข่ายผู้ปกครอง สาธารณสุข ศึกษาธิการ จัดบริการ คลินิกวัยรุ่น ระบบส่งต่อ โครงสร้าง อัตรากำลัง พยาบาลจิตเวช นักจิตวิทยา รพช. -คลินิกวัยรุ่น (Teen Center) -บูรณาการด้าน กาย จิต สังคม ของวัยรุ่น รพศ. รพท. -คลินิกวัยรุ่น (Teen Center) -ศูนย์พึ่งได้(OSCC) รพ. จิตเวช -งานบริการสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นแบบบูรณาการ

แนวทางการดำเนินงานดูแลช่วยเหลือนักเรียนของคู่เครือข่าย ผู้ปกครอง สาธารณสุข สถานศึกษา ให้ข้อมูลนักเรียนรายบุคคล ร่วมส่งเสริมพัฒนาและดูแลช่วยเหลือนักเรียน ปกติ รู้จักนักเรียนรายบุคคล คัดกรองนักเรียน เสี่ยง/มีปัญหา ส่งเสริม ป้องกัน/ช่วยเหลือ อาการ/พฤติกรรม ส่งต่อ ติดตามประเมินผล สรุปรายงาน ให้การปรึกษา/สนับสนุนเครื่องมือรู้จักนักเรียนรายบุคคล ให้การปรึกษา/สนับสนุนเครื่องมือคัดกรองนักเรียน ให้การปรึกษา/ร่วมกิจกรรม ส่งเสริม ป้องกัน และช่วยเหลือเบื้องต้น แก่ครูที่ปรึกษา ให้การปรึกษา และ ร่วมประชุมปรึกษารายกรณี ในกรณีปัญหายุ่งยากซับซ้อน รับการส่งต่อ และบำบัดรักษา

Questions and Answers