โดย นายโดม เจริญศิริ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มองไม่เห็นก็เรียนได้
Advertisements

การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคตัวต่อ วิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ชื่อเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความ คงทนในการเรียนรู้เรื่องความรู้เกี่ยวกับแผนธุรกิจ ( Business Plan ) วิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อมรหัส.
แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
การใช้วิธีสอนแบบซินดิเคทในการสอนวิชาภาษาไทย
ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2556 นางสาวกรรณิการ์ นัยผ่องศรี
ชื่อเรื่อง การศึกษาพฤติกรรมการกล้าแสดงออก โดยการจัดการเรียนรู้แบบ
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาบุคลิกภาพโดยใช้แบบฝึกปฏิบัติของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1-3 ( ปวช.1-3 )สาขาวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
ผู้วิจัย นางสาวจินตนา เชื้อเมืองพาน
สมาคมโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
นางสาวทัศนีย์ ศรีภุมมา
1. 2 ปัญหาของการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมล ศรีย่าน  จุดมุ่งหมายของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 กำหนดให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์

การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
นางสุทัศนีย์ พลเตชา ผลงานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นางสาวกานณภา ทองเกิด สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
การประเมินพฤติกรรมการ เรียนของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.2 ) สาขาการตลาด ปี การศึกษา 2555 ผู้วิจัย นายฉัตรชัย ภักดีนอก ตำแหน่ง อาจารย์ประจำฝ่ายวิชาการ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
ผู้เสนอ นายทนงศักดิ์ กุลเสนชัย สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ศึกษาการสอนแบบการฟังและพูดของครูกับนักศึกษา
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.

นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลอง วิชาการขาย 2 เรื่องกระบวนการขายของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
พรชัย กิจเจริญ วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่ง
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
รายงานการวิจัย เรื่อง
อาจารย์นริสรา คลองขุด
ชื่อผู้วิจัย ประชิด เกิดมาก
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาววัชรา เชื้อรามัญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย นางสาวนิตญา จุทาชื่น วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา การวิเคราะห์ ออกแบบระบบ ปวส.2/2และปวส.2/2 พิเศษสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การแก้ปัญหานักเรียนขาดการกระตือรือร้นในการเรียนภาคปฏิบัติ วิชางานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้นของนักเรียนชั้น ปวช.1/1 ช่างยนต์ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี
ชื่อผู้วิจัย :: นางสาวสุทธิดา โชติญาณพงษ์
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ ชื่อเรื่อง : การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา ภาษาไทยของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยี

ชื่อเรื่อง ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยใช้ รูปแบบเกมวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค สำหรับนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ.
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้การสืบเสาะหา ความรู้แบบนำทาง
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ในการเรียนรู้ความหมายของคำศัพท์ภาษาอังกฤษโดยการใช้ เกม Bingo Vocab ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ประเภทพาณิชยกรรม.
โดย นางสาวสารภี ศุระศรางค์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย นายโดม เจริญศิริ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน ความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ วิชาคณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ เรื่อง แผนภาพเวน-ออยเลอร์ ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัย เทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน ประจำปีการศึกษา 2556 ที่ได้รับการสอนโดยใช้รูปแบบ การเรียนการสอนของบลูม โดย นายโดม เจริญศิริ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน

ปัญหาการวิจัย จากประสบการณ์ของผู้ทำการวิจัยซึ่งเป็นครูในโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน ด้านบริหารธุรกิจ ผู้วิจัยประสบปัญหาอย่างมากในการปฏิบัติกิจกรรมเรียนการสอน ผู้เรียนซึ่งเป็นนักเรียนในระดับ ปวช. (เทียบเท่า ม.4-ม.6) และปวช. (เทียบเท่าระดับอุดมศึกษาชั้นปี 1-2) ไม่ค่อยชอบแสดงความคิดในชั้นเรียนหรือในการอภิปราย ผู้เรียนส่วนใหญ่มีท่าทางที่ไม่มั่นใจในตนเอง เมื่อถูกถามคำถามหรือให้แสดงความคิดเห็นก็มักจะหันไปมาเพื่อดูว่าเพื่อนจะพูดว่าอย่างไร มักจะตอบคำถามตามที่เพื่อนบอก หรือมักจะยอมรับง่ายๆ ว่าไม่รู้ ในการทำกิจกรรมกลุ่ม ผู้เรียนส่วนใหญ่จะไม่กล้าแสดงความคิดเห็นของตนเองเพราะคิดว่าผู้อื่นจะไม่ยอมรับและดูถูกความคิดของตน เมื่อมอบหมายงานให้ไปทำนอกเวลาเรียนก็พบว่าจะมีการลอกการบ้าน หรืองานที่มอบหมายให้ทำมาส่งอยู่เสมอ ในการลอกงานของเพื่อนมาส่ง บางคนไม่มีความคิดแม้แต่จะปรับเปลี่ยนข้อความให้ดูเป็นของตนเองมากขึ้น หากครูผู้สอนสั่งให้ทำรายงานก็มักจะพบว่ารายงานที่ทำมาส่ง จะมีลักษณะของการลอกข้อความในหนังสือ 2-3 เล่ม มาต่อกันโดยไม่มีการปรับปรุงใดๆ ทั้งสิ้น แม้กระทั่งสรรพนามหรือคำเรียกขานต่างๆ ซึ่งใช้ไม่เหมือนกันในหนังสือแต่ละเล่ม ซึ่งแสดงให้เห็นว่าขาดทักษะในการสังเคราะห์ข้อมูลอย่างมาก ในการทำโครงงาน ผลงานส่วนมากที่ทำขึ้นมาจะขาดความคิดสร้างสรรค์ ขาดจินตนาการที่จะสร้างสิ่งใหม่ๆ ไม่พยายามคิดนอกกรอบ การทำข้อสอบประเภทเขียนบรรยาย ก็จะเห็นลักษณะการคิดด้านเดียว ไม่คิดในมุมมองของผู้อื่น ไม่มีความสามารถในการตัดสินและประเมินค่า

วัตถุประสงค์ของการวิจัย การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์มุ่งพัฒนาความสามารถด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณด้วยแผนภาพเวน-ออยเลอร์ ในรายวิชาคณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์โดย 1. เปรียบเทียบความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ในวิชาคณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ เรื่อง แผนภาพเวน-ออยเลอร์ ของนักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 2 (ปวช.2) ที่ได้รับการสอนโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนของบลูมก่อนการทดลองและหลังการทดลอง

ตารางที่ 1 การเปรียบเทียบความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณโดยรวม ของกลุ่มทดลอง N S t ก่อนการทดลอง 49 17.49 4.809 22.747** หลังการทดลอง 32.08 7.317

สรุปผลการวิจัย ผลการวิจัยพบว่าความสามารถในด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณวิจารณญาณ โดยรวม,รายด้าน ด้านการสรุปอ้างอิง, ด้านการยอมรับ, ด้านนิรนัย, ด้านตีความ และด้านการประเมินข้อโต้แย้ง ในวิชาคณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ เรื่อง แผนภาพเวน-ออยเลอร์ ของนักเรียน ปวช.2 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน ประจำปีการศึกษา 2556 ที่ได้รับการสอนโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนของบลูม หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

ขอบคุณครับ